ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChatrsuda Praphasirirat ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี THE EFFECTS OF COOPERATIVE LEARNING ON ACHIEVEMENT AND SCIENCE LEARNING ATTENTION OF SECOND YEAR VOCATIONAL STUDENTS, SIAM BUSINESS ADMINISTRATION COLLEGE
2
1. เพื่อสร้างรูปแบบการสอนแบบร่วมมือ สำหรับวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2. เพื่อเปรียบเทียบความสนใจในการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานระหว่าง ก่อนเรียนและหลังเรียน 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานระหว่าง ก่อนเรียนและหลังเรียน
3
รูปแบบการสอนแบบ ร่วมมือ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ พื้นฐาน ความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ พื้นฐาน
4
ประชากร นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 2 ( ปวช.2) โรงเรียนสยาม บริหารธุรกิจ นนทบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 2 ( ปวช.2) โรงเรียนสยาม บริหารธุรกิจ นนทบุรี ที่เรียนวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 จำนวน 26 คน
5
1. แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ 2. แบบทดสอบเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อ และข้อสอบเขียนตอบ จำนวน 1 ข้อ 3. แบบสอบถามความสนใจในการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ดัดแปลงจากเครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยของวิไลพร ดำสะอาด (2544)
6
1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมหลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียน แบบร่วมมือสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ.01 2. นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐานหลังเรียนด้วยรูปแบบการ สอนแบบร่วมมือสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
7
นักเรียนมีความสนใจต่อการสอนแบบ ร่วมมือเป็นอย่างมาก นักเรียนมีความสนใจต่อการสอนแบบ ร่วมมือเป็นอย่างมาก ครูต้องพัฒนารูปแบบการสอนอื่นๆให้ น่าสนใจมากยิ่งขึ้น ครูต้องพัฒนารูปแบบการสอนอื่นๆให้ น่าสนใจมากยิ่งขึ้น ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น ผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะศึกษาหา ความรู้เพิ่มเติม ผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะศึกษาหา ความรู้เพิ่มเติม
8
การเรียนแบบร่วมมือเป็นเทคนิคที่พัฒนาขึ้นเพื่อ ส่งเสริมความร่วมมือ และการถ่ายทอดความรู้ระหว่าง เพื่อนในกลุ่ม เทคนิคนี้สามารถใช้ได้กับรายวิชาที่ ผู้เรียนต้องเรียนเนื้อหาวิชาจากตำราเรียน ดังนั้น ครูผู้สอนจึงมีบทบาทสำคัญในการกำหนดขนาดของ กลุ่ม และลักษณะของกลุ่มจะเป็นกลุ่มที่คละ ความสามารถ ให้การดูแลการจัดลักษณะการนั่งของสมาชิกให้ สะดวกที่จะทำงานร่วมกันและง่ายต่อการสังเกต ติดตามความก้าวหน้าของกลุ่ม ครูต้องชี้แจงกรอบของกิจกรรมให้นักเรียนแต่ละคน เข้าใจวิธีการและกฎเกณฑ์ในการทำงาน สร้างบรรยากาศที่เสริมสร้างการแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและกำหนดหน้าที่รับผิดชอบของสมาชิกกลุ่ม
9
เป็นที่ปรึกษาของทุกกลุ่มย่อยและคอยติดตาม ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของกลุ่มและสมาชิก กลุ่มกำหนดเวลาให้ทำงานร่วมกัน นอกจากนั้น ครูจะต้องยกย่อง ให้รางวัล คำชมเชยในการ ทำงานร่วมกันของนักเรียนในด้านการประเมินผล ครูจะให้คะแนนเป็นรายบุคคลแล้วนำคะแนนของ ทุกคนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนน รวมหรือค่าเฉลี่ยสูงสุด จะติดประกาศไว้ที่ป้าย ประกาศของห้อง เพื่อเป็นการสร้างขวัญและ กำลังใจให้กับนักเรียนและทำให้นักเรียนมีความ สนใจเรียนมากขึ้น อันจะเป็นผลให้นักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นไปด้วย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.