งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ วันที่ 25 ธันวาคม 2557

2 ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปี 2544 - 2556

3 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
มาตรการกฎหมาย ผลักดันกฎหมาย : สวนสาธารณะ ข้อความคำเตือน 2.พัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ : สคร. สสจ. ตำรวจ ทหาร 3.การเฝ้าระวัง และดำเนินคดี : รอบสถานศึกษา Music / Sport Marketing ลานเบียร์ มาตรการปรับเปลี่ยน ค่านิยมและทัศนคติ ค่ายเยาวชน สร้างแกนนำ มัธยมศึกษา อุดมศึกษา 2.การสื่อสารความเสี่ยง ผลิต/เผยแพร่สื่อ 3.Special หรือ Mobile Events : วันงดดื่มสุราแห่งชาติ เทศกาลวาเลนไทน์สงกรานต์ ลอยกระทงฯลฯ มาตรการระดับพื้นที่ ชุมชน : ชุมชนต้นแบบป้องกันปัญหาวัยรุ่น (บูรณาการ) 2.สถานศึกษา : ทักษะชีวิต/ Friend Conner (บูรณาการ) พัฒนาเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (บูรณาการ) สถานบริการ 3. สถานบริการสาธารณสุข : คลินิกวัยรุ่น (บูรณาการ) มาตรการสนับสนุน 1.การบริหารจัดการ : Teen Manager (บูรณาการ) 2.การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง โดยกรม คร. (ส.ระบาด:BSS , ส.NCD:BRFSS) 3.นิเทศ ติดตาม ประเมินผล ถอดบทเรียน

4 ปรับเปลี่ยนค่านิยมและทัศนคติ บูรณาการระดับพื้นที่
เป้าหมาย จังหวัดสามารถดำเนินการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ ผลผลิต มีเครื่องมือในการควบคุม Alc. ที่สามารถใช้งานได้มีประสิทธิภาพ ผลผลิต มีกระบวนการในการปรับเปลี่ยนค่านิยมและทัศนคติในการดื่มAlc. พัฒนาวิชาการ นโยบายและกฎหมาย ประชุมคณะกรรมการฯ/อนุกรรมการฯ ประชุมผู้เชี่ยวชาญ Policy Brief / Poll /พยากรณ์โรค/ฐานข้อมูล 2. จัดทำคู่มือ / แนวทาง 3. เฝ้าระวัง / ดำเนินคดี 4. พัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ 5. พัฒนาความร่วมมือ หน่วยงานภายในกระทรวง / หน่วยงานลง MOU 5. พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลการเฝ้าระวังและดำเนินคดี 1.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายเยาวชน 2.การสื่อสารความเสี่ยง ผลิตสื่อ เผยแพร่สื่อ 3. Special หรือ Mobile Events วันงดดื่มสุราแห่งชาติ วาเลนไทน์/สงกรานต์/ ลอยกระทง ลบ. ลบ. กฎหมาย ปรับเปลี่ยนค่านิยมและทัศนคติ บูรณาการระดับพื้นที่ 1.770 ลบ. มาตรการสนับสนุน การบริหารจัดการ Teen Manager System Manager 2. เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง (BSS / BRFSS) 3. นิเทศ ติดตามประเมินผล 4. ถอดบทเรียน บูรณาการ ผลผลิต มีกระบวนการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างบูรณาการในทุก Setting สถานศึกษา : ทักษะชีวิต / โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ชุมชนต้นแบบ : ป้องกันปัญหาวัยรุ่น / วัยทำงาน สถานที่ทำงาน/สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย 4. สถานบริการสาธารณสุข : NCD คุณภาพ/คลินิกวัยรุ่น

5 กิจกรรมและงบประมาณตามบทบาท
สำนัก สคร. มาตรการกฎหมาย 8,237,100 4,320,000 1. พัฒนาวิชาการ นโยบายและกฎหมาย 1,957,700 120,000 2. พัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ 1,525,800 1,200,000 3. การเฝ้าระวัง และดำเนินคดี 2,385,600 3,000,000 4. พัฒนาความร่วมมือเครือข่าย 2,000,000 5. พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลการเฝ้าระวังและดำเนินคดี 368,000 มาตรการปรับเปลี่ยน ค่านิยมและทัศนคติ 4,815,400 5,400,000 1. ค่ายเยาวชน สร้างแกนนำ 1,073,100 2,400,000 2. สื่อสารความเสี่ยง 2,500,000 3.Special หรือ Mobile Events 1,242,300 600,000

6 กิจกรรมและงบประมาณตามบทบาท
สำนัก สคร. มาตรการระดับพื้นที่ (บูรณาการ) 1. ในชุมชน งบบูรณาการกลุ่มวัย 2. ในสถานศึกษา 3. ในสถานบริการสาธารณสุข มาตรการสนับสนุน 1,470,000 300,000 1. บริหารจัดการ 1,000,000 600,000 2. การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง งบบูรณาการกลุ่มวัย กรณี BSS 3.นิเทศ ติดตาม ประเมินผล ถอดบทเรียน 470,000 240,000 รวมเงิน 14,522,500 10,020,000 รวมเงินทั้งสิ้น 24,542,500.- บาท


ดาวน์โหลด ppt กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google