ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศาสนพิธี ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล
3
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
อธิบายความหมาย ขั้นตอนการ ปฏิบัติและความดีงามที่เกิดจาก การปฏิบัติพิธีกรรมต่าง ๆ ได้
4
คือ พิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งเป็น วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับศาสนาที่ปฏิบัติ
ศาสนพิธี คือ พิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งเป็น วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับศาสนาที่ปฏิบัติ สืบทอดกันมา หรือเป็นการแสดง ออกถึงความเชื่อทางศาสนา
5
การเสริมสร้างความดีงาม และความ บริสุทธิ์ของผู้ร่วมพิธีกรรมเป็นพื้นฐาน
ศาสนพิธี การเสริมสร้างความดีงาม และความ บริสุทธิ์ของผู้ร่วมพิธีกรรมเป็นพื้นฐาน
6
ศาสนพิธีต่าง ๆ ที่กระทำกันในศาสนาพุทธ
เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผลและมีจุดมุ่งหมาย ซึ่ง การประกอบพิธีกรรมนั้น ต้องอาศัยความ ร่วมแรงร่วมใจของคน เพื่อให้สังคมเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน
7
การเข้าร่วมพิธีกรรม สำรวมกาย สำรวมวาจา สำรวมใจ
8
นำอาหารมา ถวาย พระสงฆ์ถือเป็น พุทธสาวก
9
การใส่บาตรเป็นวิธีการถวายอาหารพระสงฆ์
10
วิธีปฏิบัติในการตักบาตร
1. ขณะรอให้ทำจิตตั้งมั่นโดยไม่เจาะจง 2. ก่อนตักบาตร กล่าวคำอธิษฐานว่า สุทินนัง วะตะ เม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง โหตุ
11
2. ก่อนตักบาตร กล่าวคำอธิษฐานว่า
สุทินนัง วะตะ เม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง โหตุ ทานที่ข้าพเจ้าถวายดีแล้วนี้ ขอจง เป็นเครื่องนำมาซึ่งความสิ้นกิเลสเถิด
12
3. ขณะตักบาตรควรถอดรองเท้า
4. ควรตักข้าวให้เต็มทัพพี 5. อย่าเอาทัพพีเคาะขอบบาตร 6. ขณะตักบาตรควรมีกิริยานอบน้อม 7. อย่าชวนพระสนทนาขณะตักบาตร
13
8. ถวายดอกไม้ธูปเทียน 9. เมื่อตักบาตรแล้ว อธิษฐานดังนี้
14
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ
เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะ วัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทาฯ สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็น สรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า ด้วยการ กล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแต่ ข้าพเจ้าในกาลทุกเมื่อเทอญ
15
10. อย่าเอาเงินใส่บาตร 11. เมื่อบาตรพระเต็ม ควรหาภาชนะมาใส่ 12. ไม่ฆ่าสัตว์เจาะจงมาทำอาหารถวายพระ 13. หลังตักบาตรควรกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศล
16
กิจกรรมที่ควรปฏิบัติ
ทำบุญใส่บาตร กรวดน้ำอุทิศส่วนกุศล
17
กิจกรรมที่ควรปฏิบัติ
ทำบุญตักบาตร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.