ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRatana Tomson ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การให้ยาระงับความรู้สึกสำหรับหัตถการทางออร์โธปิดิกส์
พญ. พัชรี ยิ้มรัตนบวร
2
Sedation and Analgesia
การให้ยาเพื่อให้ผู้ป่วยทนต่อภาวะไม่สุขสบายหรืออาการปวดจากการทำหัตถการได้ หวังผลให้ผู้ป่วยลืม หรือไม่ปวด ไม่รับประกันผลการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นที่เจ็บปวดนั้นๆได้ Conscious sedation----- Deeper sedation General Anesthesia
3
ข้อควรระวัง การปรับยาทำได้ยากมาก ผู้ป่วยตอบสนองแตกต่างกัน ควรใช้การให้ยาทีละน้อย ต้องระวังระดับความรู้สึกตัวที่ลดลง ลด airway reflex ---- aspiration กดการหายใจ apnea กดระบบหัวใจ Hypotension ปฎิกิริยาต่อยาอื่น ผลข้างเคียงของยา อาจเกิดเหตุการณืไม่พึงประสงค์ได้เสมอ ระวังในคนแก่และเด็ก
4
การเตรียมผู้ป่วย บุคลากร เครื่องมือ
เซ็น ใบยินยอมสำหรับให้ยา ประวัติ โรคประจำตัว ประวัติ/ตรวจร่างกาย ประเมินอุบัติเหตุร่วม NPO time Lab เท่าทีจำเป็น บางครั้งไม่ต้องส่งตรวจ
5
บุคลากร บุคลากรที่มีทักษะเพียงพอ CPR, AIRWAY CARE, แทง iv,ให้ยาได้
ใช้เครื่องติดตามสัญญาณชีพ เช่น Oxygen Sat เป็น ถ้าต้องให้ยาเฉพาะ ใช้ เครื่องดมยาสลบ ต้องใช้บุคลากรทางวิสัญญี
6
การเตรียมผู้ป่วย บุคลากร เครื่องมือ
Laryngoscope ET Suction Defibrillator Oxygen AMBU Bag ยาที่จำเป็นสำหรับCPR
7
อุปกรณ์ติดตามสัญญานชีพ monitor
ติดตามระดับความรู้สึกตัวตลอดเวลา (ปลุกตื่น ทำตามสั่ง pupil) เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องวัดความเข้มออกซิเจนในเลือด ( Pulse Oxymeter) อาจมีเครื่อง EKG เครื่องวัดคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจออก สถานที่ เพียงพอสำหรับ _CPR แสงสว่างเพียงพอ เตียงควรปรับหัวต่ำได้
8
เทคนิคและยาที่ใช้ Local anesthesia ฉีดยาชาบริเวณแผล Hematoma block
Nerve block : Digital NB, Ankle block, Wrist block
9
เทคนิคและยาที่ใช้ ยาที่ใช้ 1-2% Lidocaine.
% Bupivacaine (Marcaine) Maximal dose. Lidocaine with ADR 7 mg/kg ( 1% 1ml = 10 mg) Lidocaine without ADR 5 mg/kg Bupivacaine. 3 mg/ kg. (( 0.25% 1 ml = 2.5 ml) ข้อดี ผู้ป่วยรู้สึกตัว ใช้ยาราคาถูก ปลอดภัย ข้อเสีย เจ็บขณะฉีดยามาก อาจไม่เพียงพอสำหรับบางหัตถการ ไม่เหมาะกับเด็ก
10
ยาแก้ปวดทุกตัวกดการหายใจได้
Intravenous route ยาแก้ปวด (Opioid groups ) ชื่อยา Dose ข้อควรระวัง Morphine mg/kg histamine release อาจกระตุ้นasthmaได้ คลื่นไส้อาเจียน Pethidine mg/kg กระตุ้นHR เร็วขึ้น Fentanyl µg/kg หมดฤทธิ์เร็ว ยาแก้ปวดทุกตัวกดการหายใจได้
11
ยาที่ออกฤทธิ์ให้หลับ
ชื่อยา Dose ข้อควรระวัง Diazepam 0.04 – 0.2 mg/kg เจ็บขณะฉีดยา ออกฤทธิ์นาน6-12hr Midazolam (Dormicum) 0.01 – 0.1 mg/kg ความดันโลหิตต่ำ ลด vagal tone ได้ Propofol mg/kg กดหัวใจ ความดันต่ำได้ หยุดหายใจ Thiopental 3 – 6 mg/kg กดหัวใจ ความดันโลหิตต่ำได้ Ketamine 0.5-2 mg/kg กระตุ้น HR เร็ว BP สูงได้ ตื่น delirium ได้ Propofol Thiopental ketamine ต้องงดน้ำงดอาหาร อย่างน้อย 8 ชม
12
ผู้ป่วยชาย 69 ปี หกล้มมือยันพื้น 2 ชม. ก่อนมารพ
ผู้ป่วยชาย 69 ปี หกล้มมือยันพื้น 2 ชม.ก่อนมารพ. PE: ปวดบวมที่ข้อมือซ้าย โรคประจำตัว ความดันโลหิตสูง ทาน Amlodipine ½ tab OD BP 160/90 ชีพจร 65 /min BW 50 kg
13
ปรึกษาแพทย์ออร์โธปิดิกส์ รพ บร แล้ว ให้ CR with SAC
วิธีที่ 2 Sedation Diazepam mg IV Morphine 1.5 – 7.5 mg IV วิธีที่3 Sedation Dormicum 1-5 mg Fentanyl mcg วิธีที่ 1 LA Hematoma Block 2% Lidocaine without ADR 20 ml
14
ผู้ป่วย ชาย 50 ปี หกล้ม ปวดบวมไหล่ขวา 1 ชม ก่อนมารพ ประวัติไหล่หลุดเป็นๆหายๆมา 2 ปี ปฎิเสธโรคประจำตัว NPO 2 ชมก่อนมารพ
15
ปรึกษาแพทย์ออร์โธปิดิกส์ รพ บร แล้ว ให้ CR with sling
วิธีที่2 Sedation Dormicum 1-5 mg Fentanyl mcg วิธีที่ 1 Sedation Diazepam mg IV Morphine 1.5 – 7.5 mg IV
16
ผู้ป่วยชาย 19 ปี อุบัติเหตุรถมอเตอร์ไซด์
บาดแผลที่นิ้วดังรูป ประวัติสลบไม่ชัดเจน NPO 2ชม GCS 15 Vital sign ปกติ
17
ปรึกษาแพทย์ออร์โธปิดิกส์ รพ บร แล้ว ให้ DB
วิธีที่2 Sedation ไม่ควรใช้ เพราะต้องสังเกตุอาการทางสมอง วิธีที่ 1 LA Digital nerve block 2% Lidocaine without ADR ml
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.