งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การนำเข้าสินค้าเกษตร ตามพันธกรณีความตกลงระหว่างประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การนำเข้าสินค้าเกษตร ตามพันธกรณีความตกลงระหว่างประเทศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การนำเข้าสินค้าเกษตร ตามพันธกรณีความตกลงระหว่างประเทศ
นายถาวร แสงเทียน ผู้อำนวยการสำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 4 สระแก้ว

2 การนำเข้าสินค้าเกษตรตามพันธกรณีความตกลงระหว่างประเทศ
 ข้าว  ถั่วเหลือง - เมล็ดถั่วเหลือง  มันสำปะหลัง  ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

3 ข้าว ข้าว หมายความถึง ข้าวตามพิกัดอัตราศุลกากรขาเข้าประเภท ดังนี้
ข้าว หมายความถึง ข้าวตามพิกัดอัตราศุลกากรขาเข้าประเภท ดังนี้ ลำดับ พิกัดอัตราศุลกากร รายการ 1 ข้าวเปลือก (เหมาะสำหรับการเพาะปลูก) 2 ข้าวเปลือก (อื่น ๆ) 3 ข้าวกล้อง (ข้าวหอมมะลิไทย) 4 ข้าวกล้อง (อื่น ๆ) 5 ข้าวที่สีบ้างแล้วหรือสีทั้งหมด จะขัดหรือไม่ก็ตาม (ข้าวเหนียว) 6 ข้าวที่สีบ้างแล้วหรือสีทั้งหมด จะขัดหรือไม่ก็ตาม (ข้าวหอมมะลิไทย, อื่น ๆ) 7 ข้าวที่สีบ้างแล้วหรือสีทั้งหมด จะขัดหรือไม่ก็ตาม (ข้าวนึ่ง) 8 ข้าวที่สีบ้างแล้วหรือสีทั้งหมด จะขัดหรือไม่ก็ตาม (อื่น ๆ) 9 ปลายข้าว (ชนิดที่ใช้สำหรับเป็นอาหารสัตว์) 10 ปลายข้าว (อื่น ๆ)

4 การอนุญาตนำเข้าตามพันธกรณีความตกลงต่าง ๆ

5 การบริหารการนำเข้าข้าว
1. คณะอนุกรรมการนโยบายข้าว...... 2. กรมการค้าต่างประเทศ เป็นผู้ออกประกาศ ระเบียบตามมติคณะอนุกรรมการนโยบายข้าว...... 3. (คณะอนุกรรมการบริหารการนำเข้าข้าวภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน)

6 หลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรอง และเงื่อนไขการนำเข้าตามความตกลง AFTA
1.1 ต้องเป็นนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์ประกอบอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารหรือผลิตภัณฑ์ที่ทำจากข้าว 1.2 มีใบอนุญาตประกอบการค้าข้าวจากกรมการค้าภายใน 1.3 มีใบอนุญาตให้ประกอบกิจการโรงงานจากรมโรงงานอุตสาหกรรม 1.4 มีแผนการผลิตประจำปี (ความต้องการ, ปริมาณต้องการนำเข้า, แหล่งที่จะนำเข้า, สถานที่เก็บ) 1.5 ต้องไม่เป็นนิติบุคคลที่อยู่ระหว่างถูกพักหรือเพิกถอนการขึ้นทะเบียนเป็นผู้นำเข้าข้าว 2. การขึ้นทะเบียนเป็นผู้นำเข้า 2.1 ยื่นแบบคำขอที่สำนักบริหารการค้าข้าว กรมการค้าต่างประเทศภายในเดือน ม.ค. - ก.พ. ของปีที่จะนำเข้า 2.2 ยื่นสำเนาเอกสารตามข้อ 1 2.3 กรมการค้าต่างประเทศตรวจสอบข้อเท็จจริง ก่อนนำเสนอคณะอนุกรรมการบริหารการนำเข้าข้าว ภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน เพื่อขอความเห็นชอบ 2.4 กรณีต่อทะเบียนให้ยื่นแบบตามที่กรมการค้าต่างประเทศกำหนดพร้อมหลักฐานตามข้อ และ 1.5

7 หลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรอง และเงื่อนไขการนำเข้าตามความตกลง AFTA (ต่อ)
3. การขอหนังสือรับรองการนำเข้า ยื่นคำร้องขอหนังสือรับรองต่อสำนักบริการการค้าต่างประเทศ กรมการค้า ต่างประเทศ พร้อมหลักฐานประกอบการพิจารณา ดังนี้ 3.1 สำเนาหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (FORM D) 3.2 สำเนาใบรับรองสุขอนามัยพืชหรือหลักฐานอื่นที่แสดงการรับรองสุขอนามัยพืช 3.3 สำเนาใบรับรองการกำหนดปริมาณสารพิษตกค้างหรือเอกสารหลักฐานอื่นที่แสดงการรับรองหรือกำหนด ปริมาณสารพิษตกค้าง 3.4 สำเนาใบรับรองเป็นพืชที่ไม่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม (GMOs) 4. ช่วงระยะเวลากำหนดให้นำเข้ามี 2 ช่วง 4.1 งวดที่ 1 ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม กรกฎาคม 4.2 งวดที่ 2 ตั้งแต่ 1 สิงหาคม ตุลาคม 5. ด่านนำเข้าข้าว มี 6 ด่าน ดังนี้ 5.1 ด่านศุลกากรอรัญประเทศ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว 5.2 ด่านศุลกากรหนองคาย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 5.3 ด่านศุลกากรแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย

8 หลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรอง และเงื่อนไขการนำเข้าตามความตกลง AFTA (ต่อ)
5.4 ด่านศุลกากรแม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 5.5 ด่านศุลกากรระนอง อำเภอเมือง จังหวัดระนอง 5.6 ด่านศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 6. การตรวจปล่อยสินค้า 6.1 ผู้นำเข้าจะต้องมีหนังสือรับรองแสดงการได้รับสิทธิยกเว้นภาษีนำเข้าที่ออกโดยกรมการค้า ต่างประเทศ และเอกสารรับรองที่ออกโดยประเทศผู้ส่งออก ดังนี้ หนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (FORM D) ใบรับรองสุขอนามัยพืชหรือหลักฐานอื่นที่แสดงการรับรองสุขอนามัยพืช ใบรับรองการกำหนดปริมาณสารพิษตกค้างหรือเอกสารหลักฐานอื่นที่แสดงการรับรองหรือกำหนด ปริมาณสารพิษตกค้าง สำเนาใบรับรองเป็นพืชที่ไม่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม (GMOs) 6.2 ข้าวที่นำเข้าจะมีการสุ่มตรวจจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอีกครั้งว่ามีความปลอดภัยและการปลอดจากการตัด ต่อทางพันธุกรรม (GMOs) จริงหรือไม่

9 หลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรอง และเงื่อนไขการนำเข้าตามความตกลง AFTA (ต่อ)
7. การนำเข้าข้าวที่มิใช่เพื่อการค้า ข้าวที่นำติดตัวเข้ามาเพื่อใช้เฉพาะตัว นำเข้ามากับยานพาหนะเพื่อใช้ในยานพาหนะนั้น หรือการนำเข้าเพื่อเป็น ตัวอย่าง สามารถนำเข้ามาได้ในปริมาณเท่าที่จำเป็นโดยไม่ต้องมีหนังสือรับรองแสดงการได้รับสิทธิยกเว้นภาษี 8. การรายงานการนำเข้า รายงานภายใน 30 วัน นับจากวันที่นำเข้าแต่ละครั้งพร้อมสำเนาใบขนขาเข้าที่เจ้าหน้าที่ศุลกากรสลักหลัง ถูกต้อง

10 เมล็ดถั่วเหลือง เมล็ดถั่วเหลือง หมายความถึง เมล็ดถั่วเหลืองจะทำให้แตกหรือไม่ก็ตาม ตามพิกัดอัตราศุลกากรขาเข้าประเภท ดังนี้ ลำดับ พิกัดอัตราศุลกากร รายการ 1 ถั่วเหลือง จะทำให้แตกหรือไม่ก็ตาม (ใช้เพื่อการเพาะปลูก) 2 ถัวเหลือง จะทำให้แตกหรือไม่ก็ตาม (อื่น ๆ)

11 การอนุญาตนำเข้าตามพันธกรณีความตกลงต่าง ๆ

12 การบริหารการนำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง
คณะกรรมการพืชน้ำมันและน้ำมันพืช

13 หลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรอง และเงื่อนไขการนำเข้าตามความตกลง AFTA
1. เป็นนิติบุคคลที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้นำเข้าไว้กับกรมการค้าต่างประเทศเป็นรายปี (แบบ ทอ.3 และ ทอ.4) 2. นำเข้าเพื่อแปรรูปเป็นน้ำมันพืช อาหารคน หรืออาหารสัตว์ในกิจการของตนเองไม่เกินปริมาณที่ระบุไว้ในแผนการ นำเข้าและการใช้ 3. นำเข้าตามแผนการนำเข้าและการใช้ในกิจการของตนเองดดยมีเอกสารแนบ ดังนี้ 3.1 สำเนาหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (FORM D) ของประเทศผู้ส่งออก 3.2 สำเนาใบกำกับสินค้า (Invoice) 3.3 สำเนาใบตราส่งสินค้า หรือเอกสารหลักฐานอื่นที่แสดงการขนส่งสินค้า 4. ผู้ขอหนังสือรับรองต้องให้ความร่วมมือในการรับซื้อเมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตภายในประเทศ 5. ผู้ขอหนังสือรับรองได้ให้คำรับรองจะไม่นำมาจำหน่าย จ่าย โอนภายในประเทศ 6. ต้องนำเข้าทางด่านศุลกากรที่ด่านตรวจพืช หรือมีเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจของด่านดังกล่าวปฏิบัติหน้าที่ 7. การรายงานการนำเข้า ให้ผู้ได้รับหนังสือรับรองรายงานการนำเข้าหลังการนำเข้าสินค้าทุกครั้ง

14 มันสำปะหลัง มันสำปะหลัง หมายความถึง รากหรือหัวของมันสำปะหลัง ตามพิกัดอัตราศุลกากรประเภทย่อย ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง หมายความถึง มันสำปะหลังที่แปรสภาพแล้ว ตามพิกัดอัตราศุลกรประเภทย่อย แต่ไม่รวมถึงผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังแช่เย็นจนแข็ง ตามพิกัดศุลกากรประเภทย่อย หรือ แช่เย็นตามพิกัดอัตราศุลกากรประเภทย่อย

15 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ หมายความถึง ข้าวโพดที่ใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ ตามพิกัดอัตราศุลกากรขาเข้า ประเภทย่อย

16 การอนุญาตนำเข้าตามพันธกรณีความตกลงต่าง ๆ

17 อยู่ภายใต้การควบคุมของ คณะกรรมการนโยบายอาหารสัตว์
การบริหารการนำเข้าข้าวโพด อยู่ภายใต้การควบคุมของ คณะกรรมการนโยบายอาหารสัตว์

18 หลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรอง และเงื่อนไขการนำเข้าตามความตกลง AFTA
1.1 ให้องค์การคลังสินค้า นำเข้าได้ทั้งปี และให้ทำแผนสั่งซื้อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ด้านการผลิต การตลาด ภาวะราคา และความต้องการใช้ไม่ให้กระทบต่อราคาผลผลิตภายในประเทศ 1.2 ให้ผู้นำเข้าทั่วไป ขึ้นทะเบียนเป็นผู้นำเข้าเป็นรายปี นำเข้าระหว่างวันที่ 1 มีนาคา ถึง 31 สิงหาคม (เฉพาะในปี เท่านั้น) เพราะโดยปกติถึง 31 กรกฎาคม ในปีนั้น) 1.3 ต้องนำเข้าทางด่านศุลกากรที่มีด่านตรวจพืชและด่านกักสัตว์ หรือมีเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจของด่านดังกล่าว ปฏิบัติหน้าที่อยู่ 2. การรายงานการนำเข้า ให้รายงานการนำเข้าหลังการนำเข้าสินค้าในแต่ละครั้ง ตามแบบรายงานการนำเข้าที่ กำหนดในแต่ละความตกลง

19 ติดต่อ - สอบถาม กรมการค้าต่างประเทศ ถ. สนามบินน้ำ จ
ติดต่อ - สอบถาม กรมการค้าต่างประเทศ ถ.สนามบินน้ำ จ.นนทบุรี สายด่วน หรือ สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 4 (สระแก้ว) โทร 1385


ดาวน์โหลด ppt การนำเข้าสินค้าเกษตร ตามพันธกรณีความตกลงระหว่างประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google