งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การออกแบบคลองและอาคารส่งน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การออกแบบคลองและอาคารส่งน้ำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การออกแบบคลองและอาคารส่งน้ำ
Design of Canal and Conveyance Structure 207421 ครั้งที่ 1 อ.สุวัฒน์ พาหุสุวัณโณ วศ.บ.ชลประทาน, วศ.ม. โครงสร้าง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ กรมชลประทาน

2 ปี 4 เทอมสุดท้ายแล้ว....เรียนอะไรมาบ้าง?

3 ใช้น้ำทำอะไร ?

4 ใช้น้ำทำอะไร ?

5 ถ้าชาวบ้านต้องการน้ำ...เราต้องทำอย่างไร ?

6 ถ้าชาวบ้านต้องการน้ำ...เราต้องทำอย่างไร ?

7 Google earth

8

9 ปัญหาความเดือดร้อนของราษฎร
อนาคต ปัญหาอุทกภัย น้ำท่วมบ้านเรือน พื้นที่เกษตรเสียหาย ปัญหาภัยแล้ง น้ำไม่เพียงพอ แย่งน้ำ รายได้ต่ำ หนี้สินเพิ่มขึ้น การอพยพเข้าเมือง ชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น น้ำอุปโภคบริโภค ไม่เพียงพอ กระทบต่อความมั่นคง คุณภาพชีวิต

10 แนวทางแก้ไขปัญหา สิ่งก่อสร้าง ระบบกระจายน้ำ เขื่อนหินทิ้งแกนดินเหนียว
สันกว้าง 12 เมตร ยาว 903 เมตร สูง 56 เมตร ความจุเก็บกับ 248 ล้าน ลบ.ม. ฝาย 3 แห่ง คลองส่งน้ำ อาคารประกอบ

11 ประโยชน์ที่ได้รับ ประโยชน์ที่ได้รับ บรรเทาปัญหาอุทกภัย
291,900 ไร่ ฤดูฝน 116,545 ไร่ ฤดูแล้ง 11,320 ครัวเรือน 102 หมู่บ้าน

12 การออกแบบคลองและอาคารส่งน้ำ
Design of Canal and Conveyance Structure 207421 ครั้งที่ 1 อ.สุวัฒน์ พาหุสุวัณโณ วศ.บ.ชลประทาน, วศ.ม. โครงสร้าง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ กรมชลประทาน

13 แหล่งเก็บน้ำ หัวงาน คลองส่งน้ำ อาคารประกอบ

14

15

16

17 หัวงาน แม่น้ำ ทางระบายน้ำธรรมชาติ คลองส่งน้ำสายใหญ๋
คลองซอย คลองซอย คลองแยกซอย คลองแยกซอย คลองแยกซอย ทางระบายน้ำธรรมชาติ แม่น้ำ คลองแยกซอย คลองแยกซอย คลองซอย คลองแยกซอย คลองแยกซอย คลองแยกซอย คลองแยกซอย

18

19

20

21 การออกแบบคลองและอาคารส่งน้ำ
Design of Canal and Conveyance Structure 207421 ครั้งที่ 1 อ.สุวัฒน์ พาหุสุวัณโณ วศ.บ.ชลประทาน, วศ.ม. โครงสร้าง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ กรมชลประทาน

22 ประโยชน์ต่อนักศึกษา สามารถควบคุมงานก่อสร้างด้วยความเข้าใจ
สามารถนำไปศึกษาต่อในศาสตร์ที่สูงขึ้น สามารถปฏิบัติงาน ออกแบบอาคารชลประทานได้

23 วัตถุประสงค์ 1 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ถึงพฤติกรรมของอาคารชลประทานเมื่อถูกแรงกระทำ 2 เพื่อให้นักศึกษาคำนวณขนาด รูปร่างอาคารชลประทานทางด้าน Hydraulic Design FBD SFD BMD 4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบขนาดรูปร่าง หน้าตัด และเสริมเหล็ก อาคารชลประทานได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย มั่นคง แข็งแรง และประหยัด 3 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ถึงการวิเคราะห์แรงภายในที่เกิดขึ้นของอาคารชลประทาน

24 ได้เรียนรู้อะไรบ้าง คลอง (Canal) ส่วนประกอบอาคารชลประทาน
ปตร. (Head Regulator) รางน้ำ สะพานน้ำ (Flume) ท่อเชื่อม (Syphon) ท่อลอด (Culvert) อาคารน้ำตก (Drop) ท่อส่งน้ำเข้านา (Farm Turnout)

25 3D

26 เขื่อนเจ้าพระยา เหนือน้ำ ท้ายน้ำ ยาว ม. 16 ช่องระบายน้ำ กว้างช่องละ ม. ประตูเรือสัญจร กว้าง ม.

27 ต้องรู้อะไรมาบ้าง กลศาสตร์ กำลังวัสดุ ชลศาสตร์ ปฐพีกลศาสตร์
คอนกรีตเทคโนโลยี วิเคราะห์โครงสร้าง I, II ออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก ออกแบบโครงสร้างไม้ และเหล็ก ฯลฯ.

28 นำกระดาษรายงาน เครื่องคิดเลข มาด้วยทุกครั้ง ก่อนเรียนและหลังเรียน
ข้อตกลงในการเรียน นำกระดาษรายงาน เครื่องคิดเลข มาด้วยทุกครั้ง ขาดเรียน ไม่เกิน 3 ครั้ง Quiz ก่อนเรียน 15 นาที เช็คชื่อ ก่อนเรียนและหลังเรียน ส่งรายการคำนวณ หลังเรียน

29 คะแนน


ดาวน์โหลด ppt การออกแบบคลองและอาคารส่งน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google