ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เป็นกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยการให้ผู้เรียนสวมบทบาทในสถานการณ์ที่ใกล้เคียงความเป็นจริงและแสดงออกตามความรู้สึกนึกคิดของตน แล้วนำเอาการแสดงออกของผู้แสดงทั้งด้านความรู้ ความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรมที่สังเกตพบ มาเป็นข้อมูลในการอภิปราย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ (ทิศนา แขมมณี)
2
ประเภทของบทบาทสมมติ มี 2 ประเภท คือ
ประเภทของบทบาทสมมติ มี 2 ประเภท คือ 1. ผู้แสดงบทบาทสมมติจะแสดงบทบาทเป็นคนอื่นโดยละทิ้งแบบแผน พฤติกรรมของตน อาจเป็นบุคคลจริงหรือบุคคลสมมติ เช่น ครูใหญ่ พ่อค้า ชาวนา บุคคลสำคัญฯลฯ โดยผู้แสดงจะพูด คิดและแสดงพฤติกรรม ความรู้สึกเหมือนบุคคลที่ตนสวมบทบาท
3
2. ผู้แสดงบทบาทยังเป็นตัวตนของตนเอง แต่แสดงบทบาทในสถานการณ์ที่อาจพบในอนาคต เช่น การสมัครงาน การให้คำปรึกษาแนะแนว การควบคุมความขัดแย้ง การแสดงพฤติกรรม การเสนอความคิด ฯลฯ
4
ขั้นตอนการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
1. เตรียมฉาก/สถานการณ์และกำหนด บทบาทสมมติ 2. เลือกผู้แสดงบทบาท 3. เตรียมความพร้อมของผู้แสดง 4. เตรียมผู้สังเกตการณ์
5
5. แสดงบทบาทและการตัดบทการแสดง 6
5. แสดงบทบาทและการตัดบทการแสดง 6. อภิปรายเกี่ยวกับความรู้ ความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรมที่แสดงออก ของผู้แสดง 7. สรุปการเรียนรู้ที่ได้รับ 8. ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
6
1. ได้ข้อมูลเพียงพอที่จะนำมาวิเคราะห์ อภิปรายได้
การตัดบทการแสดง ควรกระทำเมื่อ 1. ได้ข้อมูลเพียงพอที่จะนำมาวิเคราะห์ อภิปรายได้ 2. ผู้สังเกตสามารถจะบอกได้ว่าเรื่องราวจะเป็นอย่างไร ถ้ามีการแสดงต่อไป 3. ผู้แสดงไม่สามารถแสดงต่อไปได้เพราะเกิดความ เข้าใจผิดหรือเกิดอารมณ์สะเทือนใจมากเกินไป 4. การแสดงยืดเยื้อไม่ยอมจบหรือจบไม่ลง
7
วิธีการวิเคราะห์และอภิปรายผลหลังจบการแสดง
1. ชี้แจงให้ผู้แสดงและผู้สังเกตเข้าใจว่า การอภิปรายจะเน้นที่เหตุผลและพฤติกรรมที่ผู้แสดงได้แสดงออกมา ไม่ใช่เน้นที่ใครแสดงดีหรือไม่ดี
8
2. สัมภาษณ์ความรู้สึกและความคิดของผู้แสดง 3
2. สัมภาษณ์ความรู้สึกและความคิดของผู้แสดง 3. สัมภาษณ์ความรู้สึกและความคิดของ ผู้สังเกตการณ์ 4. ให้กลุ่มแสดงความคิดเห็นและอภิปรายร่วมกัน โดยผู้สอนใช้คำถามกระตุ้นให้ผู้เรียนคิด
9
ประโยชน์ 1. ส่งเสริมให้บทเรียนน่าสนใจ
2. โดยให้เกิดความเข้าใจ ความรู้สึก พฤติกรรมของผู้อื่น 3. ช่วยในการเปลี่ยนแปลงเจตคติ
10
4. ฝึกฝนการแก้ปัญหาและการตัดสินใจของ ผู้เรียน 5
4. ฝึกฝนการแก้ปัญหาและการตัดสินใจของ ผู้เรียน 5. ทำให้ผู้เรียนเข้าใจสิ่งที่เรียนได้ลึกซึ้งขึ้น 6. กระตุ้นให้เกิดปฏิภาณ ไหวพริบ ความคิด สร้างสรรค์
11
2. คนเก่งมักผูกขาดสถานการณ์ 3. ผู้แสดงไม่สามารถแสดงบทบาทตามที่
ข้อจำกัด 1. ใช้เวลามาก 2. คนเก่งมักผูกขาดสถานการณ์ 3. ผู้แสดงไม่สามารถแสดงบทบาทตามที่ กำหนดได้ 4. ถ้าไม่สามารถเชื่อมโยงบทบาทสมมติกับ บทเรียนให้ผู้เรียนเกิดความชัดเจน จะทำให้ กิจกรรมด้อยคุณค่า
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.