ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPhisan Sakdathorn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สภาพทั่วไป ที่ตั้ง ตำบลพันดอนตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอกุมภวาปี พื้นที่เขตตำบลห่างจากอำเภอประมาณ 6 กิโลเมตรและห่างจากศาลากลางจังหวัดอุดรธานีประมาณ 38 กิโลเมตรมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่าง ๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต.ผาสุก ต.เชียงเเหว อ.กุมภวาปี จ.อุดรธานี ทิศใต้ ติดต่อกับ ต.ตูมใต้ ต.ปะโค อ.กุมภวาปี จ.อุดรธานี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต.ตูมใต้ ต.กุมภวาปี อ.กุมภวาปี จ.อุดรธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ.หนองแสง จ.อุดรธานี พื้นที่ เทศบาลตำบลกงพานพันดอน มีพื้นที่ทั้งหมด ตารางกิโลเมตรหรือ 32, ไร่ ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ทั่วไปของตำบลพันดอนเป็นที่ราบลุ่มซึ่งเป็น ส่วนมากอยู่ทางด้านตะวันออก เหมาะแก่การทำนามีลำห้วยสำคัญไหลผ่าน 2 สาย คือ ล้ำห้วยน้ำฆ้อง และลำห้วยกงพาน ทางด้านตะวันตกของตำบลเป็นที่ราบสูง
2
จำนวนหมู่บ้าน ตำบลพันดอนมี 20 หมู่บ้านแยกได้ดังนี้
จำนวนหมู่บ้าน ตำบลพันดอนมี 20 หมู่บ้านแยกได้ดังนี้ หมู่บ้านที่อยู่ในเขต ทต. มีจำนวน หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านพันดอน , หมู่ที่ 11 บ้านดงแคน หมู่ที่ 2 บ้านพันดอน , หมู่ที่ 12 บ้านดอนแคน หมู่ที่ 3 บ้านหนองผึ้ง , หมู่ที่ 19 บ้านผือ หมู่ที่ 6 บ้านผือ , หมู่ที่ 13 บ้านกงพาน หมู่ที่ 7 บ้านพันดอน , หมู่ที่ 17 บ้านใหม่คำเจริญ หมู่ที่ บ้านกงพาน , หมู่ที่ 18 บ้านหนองอุดม หมู่ที่ 10 บ้านคำเจริญ , หมู่ที่ 20 บ้านพันดอน หมู่บ้านที่เป็นพื้นที่คาบเกี่ยวกับเขต ทต. ข้างเคียง จำนวน 4 หมู่บ้าน หมู่ที่ บ้านวาปี , หมู่ที่ 14 บ้านหนองศรีเจริญ หมู่ที่ 15 บ้านน้ำฆ้อง หมู่บ้านที่มีพื้นที่นอกเขต ทต. จำนวน 2 หมู่บ้าน หมู่ที่ 9 บ้านนาหนองทุ่ม หมู่ที่ 16 บ้านน้ำฆ้อง - จำนวนครัวเรือน (เฉพาะในเขต ทต.) จำนวน , ครัวเรือน - จำนวนประชากร (เฉพาะในเขต ทต.) จำนวน 11,652 คน แบ่งออก ชาย จำนวน ,761 คน หญิง จำนวน ,909 คน
3
สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพ
ประชากรในเขตเทศบาลตำบลกงพานพันดอน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ในทางเกษตรกรรม เช่น ทำนา เป็นหลัก รองลงมาได้แก่ พืชไร่ เช่น ปลูก อ้อย มันสำปะหลัง เป็นต้น นอกจากนี้มีการปลูกไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง มะพร้าว สวนป่ายูคาลิปตัส พืชผักสวนครัว และอื่น ๆ การเลี้ยงสัตว์ส่วนใหญ่เลี้ยงปริมาณไม่มากนัก ส่วนใหญ่นิยมเลี้ยงใช้ สำหรับใช้งาน บริโภคเองและ จำหน่ายบางส่วน เช่น โค กระบือ สุกร เป็ด และไก่ เป็นต้น หน่วยธุรกิจในเขตเทศบาลตำบลกงพานพันดอน ประกอบด้วย ธนาคาร แห่ง โรงแรม / รีสอร์ แห่ง ปั๊มน้ำมัน/ก๊าซ (ขนาดใหญ่) แห่ง โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก แห่ง โรงสี แห่ง
4
สภาพทางสังคม - การศึกษา - การสาธารณสุข (ในตำบลพันดอน)
- การศึกษา การสาธารณสุข (ในตำบลพันดอน) โรงเรียนมัธยมศึกษา แห่ง โรงพยาบาลของรัฐ แห่ง โรงเรียนประถมศึกษา แห่ง สถานีอนามัยประจำตำบล/ หมู่บ้าน 2 แห่ง โรงเรียนอาชีวศึกษา แห่ง สถานพยาบาลเอกชน แห่ง ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน แห่ง ร้านขายยาแผนปัจจุบัน แห่ง ห้องสมุดประชาชน แห่ง อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ % ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แห่ง - สถาบันและองค์กรทางศาสนา - ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน วัด/สำนักสงฆ์ แห่ง สถานีตำรวจ แห่ง อุโบสถ แห่ง สถานีดับเพลิง แห่ง มัสยิด แห่ง
5
การบริการพื้นฐาน มากมีถนนลาดยาง 5 เส้น ประกอบด้วย
- ถนนส่วนใหญ่ในเขต ทต. กงพานพันดอน ขณะนี้เป็นถนนดินและลูกรัง และถนนในหมู่บ้านเป็นถนนแคบๆ จำนวน มากมีถนนลาดยาง 5 เส้น ประกอบด้วย - เส้นที่ 1 ผ่านหมู่ที่ 1 , 2 , 7 , เส้นที่ 4 ผ่านเข้าสู่หมู่ที่ 3 - เส้นที่ 2 ผ่านเข้าสู่หมู่ที่ 8 , เส้นที่ 5 ผ่านเข้าสู่หมู่ที่ 6 - เส้นที่ 3 ผ่านเข้าสู่หมู่ที่ 14 - การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข แห่ง - โทรศัพท์สาธารณะ แห่ง - โทรศัพท์บ้าน(พื้นฐาน) เครื่อง - การไฟฟ้า หมู่บ้านในเขต ทต. กงพานพันดอน มีไฟฟ้าใช้ครบทุกหมู่บ้านทุกครัวเรือน - แหล่งน้ำธรรมชาติ ลำน้ำ / ลำห้วย สาย บึง หนอง และอื่น ๆ แห่ง - แหล่งน้ำที่สร้างขึ้นมาใหม่ - ฝาย แห่ง - บ่อโยก แห่ง - บ่อน้ำตื้น แห่ง - ถังเก็บน้ำฝน แห่ง
6
ข้อมูลอื่น ๆ ทรัพยากรธรรมชาติ
- เทศบาลตำบลกงพานพันดอน มีพื้นที่อยู่ในเขตป่าสงวนของตำบลพันดอน - ปะโค มีพื้นที่ 32, ไร่ มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบ้าน รุ่น คน - อปพร รุ่น คน ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่ ประกอบด้วย - กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่ม มีเงิน 3,053,237 บาท มีสมาชิก 1,962 คน - กลุ่มเงินทุน 1 ล้านบาท 15 กลุ่ม มีเงิน ,000,000 บาท - โรงสีชุมชน โรง มีเงินทุน 10, บาท จุดเด่นของพื้นที่ พื้นที่รับผิดชอบเขตเทศบาลตำบลกงพานพันดอนมีสภาพทางกายภาพส่วนใหญ่เป็นที่ราบมีลำน้ำไหลผ่าน 2 สาย เหมาะแก่การทำนาซึ่งเป็นอาชีพส่วนใหญ่ และอาชีพรอง คือ การทำไร่อ้อย มันสำปะหลัง ทางด้านทิศตะวันตกของตำบล ซึ่งเป็นที่ราบสูง หมู่บ้านตั้งอยู่ในเขตชุมชนเมือง การคมนาคมสะดวก เป็นตำบลที่เป็นตำบลหน้าด่านเข้าสู่จังหวัดอุดรธานี และอำเภอกุมภวาปี การคมนาคมสะดวก เหมาะสำหรับการติดต่อค้าขาย เลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารหรือผลิตส่งร้านค้า มีการ อนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นอย่าง สม่ำเสมอ ราษฎร ให้ความร่วมมือกิจกรรมชุมชนดีพอสมควร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.