ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNeeramphorn Narkhirunkanok ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
3
การบรรยายตอนสอง ความรู้ของใคร ? เพื่อใคร ? *
ความรู้ของใคร ? เพื่อใคร ? * ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม การบรรยายตอนสอง ทฤษฎีสังคม (Social Theory) : ความหลากหลายทางพาราไดม์ และวิธีวิทยา (Paradigms and Methodologies)
4
กล่าวนำ “ Even in our dreams we sighted no new land…where is the push it nothing pulls ? Something is always lacking. What ? Serviceable Foundations, a framework, formulations of goals. ”
5
วาทะของนักเขียนเยอรมัน ชื่อดัง G.GRASS
กล่าวนำ ในบทกวีสั้น ๆ “จากบันทึกของหอยทากตัวหนึ่ง” ผู้เขียนต้องการจะบอกเราว่า ในยุค postmodern ทุกอย่างดำเนินไปอย่างรวดเร็ว แต่ยิ่งเร็วมาก ก็ยิ่งหายนะมาก เดินช้า ๆ อย่างสุขุมดีกว่า แต่อย่าช้าเหมือนหอยทาก ข้อสำคัญคือ ในการเดินทาง เราจะต้องมีรากฐาน มีกรอบแนวคิด มีการกำหนดจุดหมายปลายทางที่ชัดเจน
6
Paradigm thinking การสร้างความรู้ ประกอบด้วย 3 ปัจจัยใหญ่ ๆ ด้วยกัน
- Evolution - Emergence - Consciousness 3 ปัจจัยนี้ เกี่ยวพันกันและกัน และวิวัฒนาการไปพร้อม ๆ กัน Interdependent Coevolution เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องไม่สิ้นสุด
7
แบบจำลองการสร้างความรู้
EVOLUTION พัฒนาองค์ความรู้ ภูมิปัญญา EMERGENCE CONSCIOUSNESS สร้างรากฐานระบบคิด ทางปรัชญา ยกระดับจิตสำนึก เพื่อการปลดปล่อยสังคม นักปรัชญาคนสำคัญที่เน้นการสร้างระบบความรู้บนฐานของปรัชญา และจิตสำนึกที่ปลดปล่อย คือ JURGEN HABERMAS
8
HABERMAS Knowledge and Human Interests
3 categories of process of inquiry - เชื่อมโยง logical – methodological rules กับ knowledge – constitutive interests - critical philosophy of science มีภารกิจสำคัญ : หลุดพ้นจากการครอบงำของ positivism
9
Interest Structure โครงสร้างเกี่ยวกับความสนใจของมนุษย์ ในการที่จะดำรงชีวิต : - technical cognitive interest (1) - practical cognitive interest (2) - emancipatory cognitive interest (3)
10
Means of Social organization
ความสนใจ ทั้ง 3 รูปแบบ เชื่อมโยงกับปัจจัยของการจัดองค์กร 3 แบบ : - technical WORK - practical LANGUAGE - emancipatory POWER
11
ความสนใจ กับ ศาสตร์ 3 แนว
Empirical – analytic sciences Historical – hermeneutic sciences Critically oriented sciences
12
ศาสตร์ 3 แนว (ต่อ) แนวแรก ให้ข้อมูลข่าวสารแก่เรา ซึ่งจะทำให้เราสามารถอธิบาย (explanation) ปรากฏการณ์สังคมได้เพื่อขยายพลังอำนาจในการควบคุมทางเทคนิค ท่ามกลางกระบวนการ ทำงาน ในการดำรงชีพ แนวที่สอง ให้เรารู้จัก ภาษา การตีความ เพื่อที่จะทำความเข้าใจ (understanding) ความหมายของการกระทำของผู้คนในโลกสังคม แนวที่สาม ให้เรามีความสามารถ ในการมองสังคมเชิงวิพากษ์ (reflection) เพื่อนำเราไปสู่การปลดปล่อยจิตสำนึกให้หลุดพ้นจากการครอบงำของ อำนาจ
13
การกระทำของมนุษย์ แนวแรก : rational purposive action
แนวที่สอง : symbolic communicative action แนวที่สาม : discourse ethics and ideal speech situation
14
Criteria of validity วิเคราะห์ : ต้องทดสอบเชิงประจักษ์
วิเคราะห์ : ต้องทดสอบเชิงประจักษ์ ตีความ : ตกลงกันระหว่างผู้คน ท่ามกลางเสวนา วิพากษ์ : ประสบความสำเร็จในการ ปลดปล่อย / เปลี่ยนแปลง
15
เป้าหมายของการวิจัย วิเคราะห์ : วัตถุ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์
วิเคราะห์ : วัตถุ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ ตีความ : บุคคล การกระทำ การแสดงออกทางคำพูด วิพากษ์ : รูปแบบของการกระทำ และภาษาที่ถูกบิดเบือน
16
knowledge constitutive interests
Interest Knowledge Medium Science Technical explanation work empirical (knowing that) Practical understanding language interpretive (knowing how) * Emancipatory self refection power critical (knowing why)
17
ทฤษฎีความรู้ของ HABERMAS
จุดมุ่งหมายของฮาร์เบอร์มาส : - ต้องการวิพากษ์ แนวคิดที่นิยมวิธีการวิทยาศาสตร์ (scientism) : ที่มาของความรู้มีอยู่แหล่งเดียว คือ วิทยาศาสตร์ - Positivism เป็นการวิเคราะห์เพียง 1 แนวเท่านั้น ท่ามกลางหลายแนว ๆ - ในวงวิชาการ เราต้องการแนวคิดที่เน้น self-reflection นั่นคือ วิพากษ์จุดยืน วิพากษ์ทฤษฎีของเราเอง และวิพากษ์สังคม
18
HABERMAS and POSTMODERNISM
ทฤษฎีของ Habermas ถูกนักคิดจากสำนัก Postmodernism วิจารณ์อย่างหนัก : - LYOTARD : เป็นเพียงอภิมหานิยายอีกเรื่องหนึ่ง เท่านั้นเอง เป็นวาทกรรมแบบทันสมัยที่มีแต่อุดมคติ - FOUCAULT : ความรู้อาจจะไม่ใช่เพื่อการปลดปล่อย แต่อาจถูกใช้เพื่อการควบคุมอำนาจ Power/Knowledge
19
ประยุกต์ใช้ทฤษฎีความรู้ 3 แนว
Habermas เสนอทฤษฎี Knowledge and Human Interests ในปี 1972 - ปัจจุบันมีผู้นำไปประยุกต์ใช้มากมายหลายวงการของสังคมศาสตร์ : ทฤษฎีทางด้านจิตวิทยา การจัดการทางการศึกษา ทฤษฎีการจัดการทางธุรกิจ ทฤษฎีสังคม ทฤษฎี IT - สำคัญมากในการวางรากฐานทางปรัชญาให้แก่การพัฒนาทฤษฎีสังคม และการวิจัยสังคม
20
ปรัชญาสังคมศาสตร์ และทฤษฎีสังคม
ปรัชญาสังคมศาสตร์ 3 แนว - positivist and empirical - hermeneutic and humanistic - radical and critical (ดู sheet)
21
ปรัชญา (ต่อ) รูปแบบทฤษฎีที่สำคัญ ๆ ภายใต้ ปรัชญาสังคมศาสตร์ที่แตกต่างกัน ปรัชญา แนวคิดหลัก และวิธีวิทยา ทฤษฎี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.