ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSumana Chaiprasit ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ ก. เลขจำนวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137 , 8319 , -46 ข. เลขทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจำนวนเต็ม เช่น 12 หรือเป็นจำนวนที่มีเศษทศนิยมก็ได้ เช่น
2
2) ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ (Character Data) หมายถึง ข้อมูลที่ ไม่สามารถนำ ไปคำนวณได้ แต่อาจนำไปเรียงลำดับได้ เช่น การเรียงลำดับตัวอักษร ข้อมูลอาจเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือเครื่องหมายใด ๆ เช่น COMPUTER, ON-LINE, ,&76 3) ข้อมูลที่เป็นรูปภาพ(Images Data) คือข้อมูลที่เป็นภาพ อาจเป็นภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ภาพลายเส้น ภาพถ่าย ภาพจากวิดิทัศน์ 4) ข้อมูลที่เป็นเสียง(Audio Data) คือข้อมูลที่ประสาทสัมผัสทางหูรับรู้ได้ เช่นเสียงเพลง เสียงนกร้อง บทสัมภาษณ์ หรือเสียงจากสิ่งต่างๆเป็นต้น
3
ประเภทของข้อมูล ประเภทของข้อมูล
ถ้าจำแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ และการจดบันทึก ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้งอาจมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจำนวนประชากรแต่ละจังหวัด สถิติการนำสินค้าเข้า และการส่งสินค้า เป็นต้น
4
8 Bit = 1 Byte(ไบต์) = 1 ตัวอักษร
การวัดขนาดข้อมูล 8 Bit = 1 Byte(ไบต์) = 1 ตัวอักษร 1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต์) = 1,024ตัวอักษร 1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต์) = 1,048,576ตัวอักษร 1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต์) = 1,073,741,824ตัวอักษร 1,024 GB = 1 TB (เทระไบต์) = 1,099,511,627ตัวอักษร
5
ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ข้อมูลในคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานแบบดิจิทัลและใช้ระดับแรงดันไฟฟ้าแสดงเพียง 2 สถานะ คือ ปิด(แทนด้วย 0) เปิด(แทนด้วย 1 ) ซึ่งหากต้องการที่จะคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการช่วยทำงาน เราต้องเรียนรู้ระบบเลขที่ประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัว เช่นกัน จึงได้มีการคิดค้นระบบเลขฐานสอง(binary)ขึ้นเพื่อช่วยในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น , เป็นต้น
6
ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขที่เราคุ้นเคยกันอยู่ในชีวิตประจําวันคือระบบเลขฐานสิบ (decimal number) โดยจะมีตัวเลขมูลฐานจํานวน 10 ตัว ประกอบไปด้วย 0,1,2,3,4,5,6,7,8,และ 9 แต่ในระบบเลขฐานสองจะมีตัวเลขมูลฐานอยู่ 2 ตัวเท่านั้น คือ 0 และ 1
7
ระบบเลขฐานสอง การแปลงค่าเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
ตัวอย่าง 26 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสอง
8
ระบบเลขฐานสอง ให้นำค่าเศษมาเรียงต่อกัน โดยเรียงจากค่าล่างสุด ไปหาค่าบนสุด เพราะฉะนั้นจะได้ค่าเท่ากับ 11010 ดั้งนั้น 26 มีค่าเท่าเท่ากับ
9
ระบบเลขฐานสอง การแปลงค่าเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ
หลักหน่วย จะเท่ากับ หรือเท่ากับ 1 หลักสิบ จะเท่ากับ หรือเท่ากับ 2 หลักร้อย จะเท่ากับ หรือเท่ากับ 4 หลักพัน จะเท่ากับ หรือเท่ากับ 8 หลักหมื่น จะเท่ากับ หรือเท่ากับ 16
10
ระบบเลขฐานสอง วิธีการแปลงคือจับตัวเลขของแต่ละหลัก คูณกับเลขประจำหลักของแต่ละตัว แล้วนำผลของแต่ละตัวมาบวกกัน ตัวอย่าง 1012 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ 1012 = (1 x 22 ) + (0 x 21 ) + (1 x 20 ) = = 5
11
ระบบเลขฐานสอง ตัวอย่าง 101012 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ
= [(1 x 24 ) + (0 x 23 ) + (1 x 22 ) + (0 x 21 ) + (1 x 20 ) = = 21 ตัวอย่าง มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ =(1x 25)+ (0x 24 )+ (0x 23 )+ (0x 22 )+ (1x 21 )+ (0x 20 ) = = 34
12
การบวกเลขฐานสอง มีหลักการเหมือนการบวกเลขฐาน สิบ
เลขฐานสองจะมีค่ามากที่สุดได้ แค่ 1 หากหลักใด 1 บวก 1 จะ ได้ 0 ทด ไว้ในหลักถัดไป 1
13
เช่น หลักที่ 1 2 3 4 5 ตัวทด ตัวตั้ง ตัวบวก ผลลัพธ์
14
เช่น หลักที่ 1 2 3 4 5 ตัวทด ตัวตั้ง ตัวบวก ผลลัพธ์
15
การลบเลขฐาน สอง พิจารณาเอาเลขที่เป็นตัวตั้งลบที่ละหลัก
หากตัวตั้งเป็น 1 ตัวลบเป็น 0 ผลลัพธ์เป็น 1 หากตัวตั้งเป็น 0 ตัวลบเป็น 1 ผลลัพธ์เป็น ต้องมีการดึงค่าในหลักที่อยู่ทางซ้ายมาได้ผลลัพธ์เป็น 1 และมีผลให้ค่าของหลักที่ถูกดึงมามีค่าเป็น 0
16
เช่น หลักที่ 1 2 3 4 5 ตัวทด ตัวตั้ง ตัวลบ ผลลัพธ์
17
หลักที่ 1 2 3 4 5 ตัวทด ตัวตั้ง 1(0) ตัวลบ ผลลัพธ์
เช่น หลักที่ 1 2 3 4 5 ตัวทด 2(1) ตัวตั้ง 1(0) ตัวลบ ผลลัพธ์
18
คำถามท้ายหน่วย 1. 38 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสอง มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ 2. 54 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสอง มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ 3. 65 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสอง มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ กับ กับ 1012 END………………..
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.