ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
พิทักษ์สิทธิ และป้องกันแก้ไขปัญหา ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
2
การบรรยาย พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
ความรุนแรงอันมีรากฐานมาจากบทบาทหญิงชาย พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
3
กรณีศึกษา และความรุนแรงในพื้นที่ โดยใช้มุมมองบทบาทหญิงชาย
แนวทางแก้ไขปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในพื้นที่ โดยใช้มุมมองบทบาทหญิงชาย และ พ.ร.บ.ทั้ง ๓ ฉบับ เด็ก สภาพ ปัญหา ความ รุนแรง ค้ามนุษย์
4
กรณีศึกษา ความรุนแรง ฐานความผิด (นอกจาก ๓ พ.ร.บ.)
มีเด็กเป็นผู้ถูกกระทำ ยาเสพติด การใช้แรงงาน การล่วงละเมิดทางเพศ ค้าประเวณี ความรุนแรง ฐานความผิด (นอกจาก ๓ พ.ร.บ.) พ.ร.บ.กฎหมายยาเสพติดให้โทษ พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ร.บ.สถานบริการ พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พระราชบัญญัติความปลอดภัยอาชีวอนามัย ประมวลกฎหมายอาญา เกี่ยวกับเรื่องการกักขังหน่วงเหนี่ยว ฯลฯ
5
กระบวนงานในการแก้ไขปัญหา
รับแจ้งเหตุ เข้าไปในเคหะสถานเพื่อแยกตัวผู้ถูกกระทำออกมา ประชุมทีมสหวิชาชีพ เพื่อหาแนวทางช่วยเหลือ สอบข้อเท็จจริงบุคคลที่เกี่ยวข้อง เยี่ยมครอบครัว ชุมชนเพื่อหาข้อมูลเชิงลึก จัดทีมประเมินสภาพครอบครัวของเด็ก กำหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ชั่วคราว ส่งผู้กระทำเข้ากระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สอบสวน การแจ้งความดำเนินคดี ในเรื่องเด็กถูกล่วงละเมิดทางเพศ การดำเนินคดีกรณีสถานประกอบการจ้างเด็กอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี ทำงาน ไกล่เกลี่ย ยอมความ ทำข้อตกลง
6
กระบวนงานในการแก้ไขปัญหา
แยกเด็กออกจากครอบครัว แยกเด็กออกมาจากร้านคาราโอเกะ แจ้งสิทธิ รับเข้าพักชั่วคราวและบำบัดเยียวยาร่างกาย จิตใจ ส่งผู้ถูกกระทำพบทีมแพทย์เพื่อตรวจสภาพร่างกาย/จิตใจ ตรวจสอบสภาพร่างกาย เพื่อดูว่าติดเชื้อเอชไอวีหรือไม่ ให้เด็กได้รับความคุ้มครองและอยู่ในสถานที่เหมาะสม : ศูนย์เด็กเล็ก/สถานรับเลี้ยงเด็ก/Day Care Center นำแม่และเด็กเข้ารับการฟื้นฟูร่างกายจิตใจ จัดให้มีนักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา ในการเยียวยาฟื้นฟูเด็ก (กายและจิตใจ) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของแม่และหาอาชีพเสริม ให้เงินสงเคราะห์ มีกองทุนคุ้มครองเด็ก ฝึกอาชีพ พัฒนาอาชีพ หรือการศึกษาต่อ ส่งกลับบ้าน โดยการประเมินตามความต้องการของเด็ก
7
ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. ส่งเสริมการทำงานของทีมสหวิชาชีพ แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนแบบบูรณาการ พ.ร.บ. ๓ ฉบับ ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับชุมชน ประชุมทีมจังหวัดเพื่อหารือร่วมกัน (ระหว่าง อปท. หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน) และสร้างความรู้ความเข้าใจ ประชุมอย่างต่อเนื่อง และถอดบทเรียน จัดทำ MOU ระหว่างหน่วยงานสหวิชาชีพ จัดทำประกาศ/คำสั่ง/วาระของจังหวัด จัดทำเส้นทางความช่วยเหลือ ติดตามเยี่ยมชุมชน
8
ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. เสริมสร้างศักยภาพหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำกระบวนงานและคู่มือ เพื่อเผยแพร่ไปสู่กลุ่มเป้าหมาย ผ่านการประชุม อบรม และอบรมเชิงปฏิบัติการ แสวงหาเครือข่าย อาสาสมัคร และส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ สร้างความเข้มแข็งให้ระดับอำเภอ (อำเภอนำร่อง) โดยวิธีการ Focus Group / Case Study ถอดบทเรียน และนำเสนอโดยใช้กลุ่ม Best Practices อำเภอต้นแบบ เผยแพร่ความรู้/สร้างความเข้าใจเรื่อง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ให้แก่ครูแนะแนว ครูที่ปรึกษา ในโรงเรียนนำร่องระดับมัยธมต้นและอำเภอนำร่อง และขยายไปสู่ทุกอำเภอ
9
ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. จัดระบบช่วยเหลือ ฟื้นฟู ให้ศูนย์ OSCC ของโรงพยาบาลอำเภอเป็นจุดรับแจ้งและช่วยเหลือ ให้ศูนย์ไกล่เกลี่ยระดับอำเภอเป็นจุดประสานงาน สำนักงาน พมจ. และอำเภอ ประสานกับโรงเรียนและเขตการศึกษา ให้นำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมาใช้ในโรงเรียน เพิ่มบทบาทศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) เป็นหน่วยเฝ้าระวังในชุมชน จัดกิจกรรมส่งเสริมการศึกษา อาชีพ, ศีลธรรมชุมชน, ยกย่องครอบครัวตัวอย่าง
10
ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. จัดระบบสนับสนุน นำเข้าไปบูรณาการในแผนชุมชน จัดระบบการรายงาน ติดตาม ประเมินผล ประชาสัมพันธ์ให้เกิดกระแสสังคม รณรงค์การปฏิบัติ และการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.