งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1 สรุปสถานการณ์น้ำประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2554 จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมกราคม 2555.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1 สรุปสถานการณ์น้ำประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2554 จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมกราคม 2555."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1 สรุปสถานการณ์น้ำประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2554 จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมกราคม 2555

2 Pacific Typhoons in 2011 Tropical depressions:40 Total storms:21 Typhoons:8 Super typhoons:4 (Unofficial) Total fatalities:1789 total Total damage (2011): > $4.903 billion (2011 USD)

3 ปริมาณฝนสะสมรายปีของประเทศไทย ระหว่างปี 2549-2554 เทียบกับค่าเฉลี่ย ปริมาณฝนสะสมรายปีเฉลี่ย ปี 2493-2540 เท่ากับ 1,374 มม./ปี

4 สรุปสถานการณ์น้ำประเทศไทย เดือนมกราคม - เดือนธันวาคม ปีพุทธศักราช 2554 4

5 - ปริมาณฝนปี 2554 มากกว่าค่าเฉลี่ยอยู่ร้อยละ 33 และมากกว่าปริมาณฝนปี 2553 อยู่ร้อยละ 27 - เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบเป็นรายเดือนระหว่างปี 2554 กับปี 2553 และค่าเฉลี่ย พบว่า ปริมาณฝนปี 2554 มากกว่า ปี 2553 และค่าเฉลี่ยช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม และเดือนกันยายน เนื่องจากอิทธิพลของปรากฏการณ์ “ลานีญา” ในช่วงครึ่งแรกของปี 2554 ประกอบกับอิทธิพลจากพายุไหหม่าในช่วงปลายเดือนมิถุนายน 2554 พายุ นกเตนในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม 2554 รวมทั้งพายุไห่ถางและเนสาดในช่วงปลายเดือนกันยายนถึงต้นเดือน ตุลาคม 2554 อีกทั้งมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมบริเวณทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย มีกำลัง ค่อนข้างแรงในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม 2554 ซึ่งเป็นปัจจัยเสริมที่ส่งผลให้ปริมาณฝนยิ่งเพิ่มทวีมากขึ้น ปริมาณน้ำฝนรายเดือนและรายเดือนสะสมปี 2553 – 2554 เปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยปี 2493 - 2540 5

6 ปริมาณฝนรายเดือนสะสมปี 2549-2554 เปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยปี 2493-2540 พายุไหหม่า พายุนกเต็น ร่องมรสุม พายุไห่ถาง เนสาด นาลแก ปี 2554 ฝนมาเร็วกว่าปกติ และตกต่อเนื่อง จากอิทธิพลของลานีญา พายุ ร่องมรสุมและลมมรสุมแรงกว่าปกติ ฝนสูงกว่าปกติ 35% 6

7 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน มีนาคม แผนภาพสถิติฝนสะสมรายเดือน เฉลี่ยปี 2493 - 2540 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2553 ปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ เนื่องจากปรากฏการณ์เอลนีโญ แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2554 ปริมาณฝนสูงกว่าปกติเกือบทั่วทุกภาค โดยเฉพาะภาคใต้ ปริมาณฝน หน่วยเป็นมิลลิเมตร 7

8 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน พฤษภาคม แผนภาพสถิติฝนสะสมรายเดือน เฉลี่ยปี 2493 - 2540 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2553 ปริมาณฝนต่ำกว่าปกติค่อนข้างมาก ในทุกภาค แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2554 ปริมาณฝนสูงกว่าปกติ โดยเฉพาะภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ปริมาณฝน หน่วยเป็นมิลลิเมตร 8

9 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน มิถุนายน แผนภาพสถิติฝนสะสมรายเดือน เฉลี่ยปี 2493 - 2540 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2553 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2554 ปริมาณฝนสูงกว่าปกติ โดยเฉพาะภาคเหนือและ บริเวณจังหวัดกรุงเทพฯ และปริมณฑล ปริมาณฝน หน่วยเป็นมิลลิเมตร 9 ปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ เกือบทั่วทุกภาค

10 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน กรกฎาคม แผนภาพสถิติฝนสะสมรายเดือน เฉลี่ยปี 2493 - 2540 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2553 ปริมาณฝนต่ำกว่าปกติในทุกภาค ยกเว้นภาคตะวันออก ที่มีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2554 ปริมาณฝนสูงกว่าปกติ โดยเฉพาะภาคเหนือฝั่งตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ปริมาณฝน หน่วยเป็นมิลลิเมตร 10

11 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน สิงหาคม ปริมาณฝนสูงกว่าปกติ โดยเฉพาะตอนบนของประเทศ ปริมาณฝน หน่วยเป็นมิลลิเมตร แผนภาพสถิติฝนสะสมรายเดือน เฉลี่ยปี 2493 - 2540 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2553 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2554 ปริมาณฝนสูงกว่าปกติ โดยเฉพาะภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 11

12 แผนภาพสถิติฝนสะสมรายเดือน เฉลี่ยปี 2493 - 2540 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน กันยายน ปริมาณฝน หน่วยเป็นมิลลิเมตร ปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ฝั่งตะวันตก ปริมาณฝนสูงกว่าปกติ โดยเฉพาะภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2553 แผนภาพฝนสะสมรายเดือน ปี 2554

13 สัดส่วนการใช้น้ำ จากต้นทุนน้ำปี 2554 (น้ำระบาย/น้ำไหลลง) ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 รายรับรายจ่าย ภาคเหนือ: เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล เขื่อนกิ่วลม เขื่อนแม่กวงอุดมธารา เขื่อนกิ่วคอหมา เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: เขื่อนลำปาว เขื่อนลำตะคอง เขื่อนลำพระเพลิง เขื่อนน้ำอูน เขื่อนอุบลรัตน์ เขื่อนสิรินธร เขื่อนจุฬาภรณ์ เขื่อนห้วยหลวง เขื่อนลำนางรอง เขื่อนมูลบน เขื่อนน้ำพุง เขื่อนลำแซะ ภาคกลาง: เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เขื่อนกระเสียว เขื่อนทับเสลา ภาคตะวันตก: เขื่อนศรีนครินทร์ เขื่อนวชิราลงกรณ ภาคตะวันออก: เขื่อนบางพระ เขื่อนหนองปลาไหล เขื่อนคลองสียัด เขื่อนขุนด่านปราการชล เขื่อนประแสร์ ภาคใต้: เขื่อนแก่งกระจาน เขื่อนปราณบุรี เขื่อนรัชชประภา เขื่อนบางลาง ภาค ปริมาณน้ำไหลลง เขื่อน ปี 54 (ล้าน ลบ.ม.) ปริมาณน้ำระบาย จากเขื่อน ปี 54 (ล้าน ลบ.ม.) สัดส่วนการใช้ เหนือ 29,924 23,025ได้กำไร ร้อยละ 23 ตะวันออกเฉียงเหนือ 13,645 10,982ได้กำไร ร้อยละ 20 กลาง 5,673 5,068ได้กำไร ร้อยละ 11 ตะวันตก 14,536 9,972ได้กำไร ร้อยละ 31 ตะวันออก 1,796 1,722ได้กำไร ร้อยละ 4 ใต้ 6,568 5,718ได้กำไร ร้อยละ 13 รวม 72,143 56,486ได้กำไร ร้อยละ 22 13

14 เขื่อนที่ได้กำไรล้าน ลบ.ม.เขื่อนที่ได้กำไรล้าน ลบ.ม. ภูมิพล4,876ลำนางรอง45 สิริกิติ์1,757มูลบน29 แม่งัด34น้ำพุง53 กิ่วลม1ลำแซะ63 แม่กวง99ป่าสัก540 กิ่วคอหมา17กระเสียว69 แควน้อย115ศรีนครินทร์1,858 ลำปาว475วชิราลงกรณ2,706 ลำตะคอง86บางพระ18 ลำพระเพลิง7คลองสียัด22 น้ำอูน207ประแสร์74 อุบลรัตน์775แก่งกระจาน272 สิรินธร880ปราณบุรี91 จุฬาภรณ์8รัชชประภา645 ห้วยหลวง 36 เขื่อนที่ขาดทุนล้าน ลบ.ม. ทับเสลา3 หนองปลาไหล 7 ขุนด่านปราการชล32 บางลาง158 สัดส่วนการใช้น้ำ จากต้นทุนน้ำปี 2554 (น้ำระบาย/น้ำไหลลง) ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

15 ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ สะสม-เขื่อนภูมิพล ปี 2507-2554 15 ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ สะสม 1 ม.ค.- 31 ธ.ค. 54 = 12,704.89 ล้าน ลบ.ม. (สูงที่สุดตั้งแต่มีการสร้างเขื่อน)

16 ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ สะสม-เขื่อนสิริกิติ์ ปี 2517-2554 16 ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ สะสม 1 ม.ค.- 31 ธ.ค. 54 = 11,212.11 ล้าน ลบ.ม. (สูงที่สุดตั้งแต่มีการสร้างเขื่อน)

17 ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ สะสม-เขื่อนป่าสักฯ ปี 2542-2554 ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ สะสม 1 ม.ค.- 31 ธ.ค. 54 = 5,009.81 ล้าน ลบ.ม. (สูงที่สุดตั้งแต่มีการสร้างเขื่อน)

18 การบริหารน้ำเขื่อนภูมิพล ปี 2554

19 การบริหารน้ำเขื่อนสิริกิติ์ ปี 2554

20 สมดุลน้ำ รายละเอียดค่าเฉลี่ยปี 2549ปี 2550ปี 2551ปี 2552ปี 2553ปี 2554 ข้อมูลปริมาณฝน ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย (มิลลิเมตร) 1,3741,5341,4701,5431,4031,4361,824 ปริมาณน้ำที่ได้จากฝน (ล้านลูกบาศก์เมตร) 702,610784,274751,798789,148717,675734,110932,722 ข้อมูลอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ (ล้านลูกบาศก์เมตร) เก็บกัก 56,33161,41858,03655,61051,94949,87261,098 น้ำเข้า 49,76552,53043,76145,99543,44440,71872,143 ระบาย 44,67643,20543,16143,13743,69938,36656,486 ส่วนต่างปริมาณน้ำ (น้ำเข้า – ระบาย) 5,0899,3256002,858-2552,35215,657 หมายเหตุ ปริมาณฝนเฉลี่ย 48 ปี ระหว่างปี 2493 ถึงปี 2540 (สถานีตรวจอากาศกรมอุตุนิยมวิทยา 118 สถานี) ข้อมูลอ่างเก็บน้ำเฉลี่ย 6 ปี ระหว่างปี 2549 ถึงปี 2554 (กรมชลประทาน และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย) พื้นที่ลุ่มน้ำทั้งประเทศประมาณ 511,361 ตารางกิโลเมตร สำหรับคำนวณปริมาณน้ำเป็นพื้นที่ไม่รวมเกาะต่างๆ ยกเว้นเกาะภูเก็ต ส่วนพื้นที่ลุ่มน้ำทั้งประเทศ เมื่อรวมเกาะต่างๆ ประมาณ 512,107 ตารางกิโลเมตร (สำนักนโยบายสาธารณะ สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) พื้นที่ลุ่มน้ำภาคเหนือ 128,448 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 176,600 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำภาคตะวันออก 36,437 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำภาคกลาง และภาคตะวันตก 98,473 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำภาคใต้ 71,403 ตารางกิโลเมตร 20

21 พื้นที่น้ำท่วมครั้งเดียว31,580,255 ไร่ พื้นที่น้ำท่วมซ้ำ * 48,680,696 ไร่ รวมพื้นที่น้ำท่วมทั้งหมด80,260,951ไร่ แผนที่น้ำท่วม ปี พ.ศ. 2554 *พื้นที่น้ำท่วมซ้ำ เป็นพื้นที่ที่น้ำท่วมมากกว่า 1 เดือน

22 ปลายน้ำ: เสริมและฟื้นฟู ระบบระบายน้ำตามแนวพระราชดำริ เสริมและฟื้นฟู คันกั้นน้ำพระราชดำริตะวันออก สร้างคันกั้นน้ำที่ประตูน้ำ จุฬาลงกรณ์ให้สมบูรณ์ แก้มลิงทุ่งรังสิต สระพระรามเก้า เสริมและฟื้นฟู คันกั้นน้ำพระราชดำริ ตะวันตก คันกั้นน้ำต้องทำงานได้ 3 อย่าง คือ “กั้น+ผัน+ระบาย” ได้ ปรับระบบระบายน้ำ กทม. ให้ ระบายได้ทั้งน้ำฝน และน้ำหลาก เพิ่มประสิทธิภาพการระบายปรับปรุง และขุดลอกทางระบายน้ำ 22

23 ปลายน้ำ: เป้าหมาย Flood way +300 cms คลองตาขำ +150 cms แม่น้ำท่าจีน 300 cms +100 cms คลองแนวตั้ง +100 cms แม่น้ำ เจ้าพระยา 3,500 cms +200 cms Flood way +300 cms สถานีสูบน้ำ ชายทะเล 300 cms +200 cms การระบายรวม เดิม 4,100 cms เพิ่ม 1,650 cms เป็น 5,750 cms ผ่านน้ำเข้า กทม. +300 cms 23

24 พัฒนาคลองส่งน้ำ เป็น คลองระบายน้ำด้วย คลองพระยาบรรลือ คลองพระพิมล ฟื้นฟูคลองแนวตั้ง คลองราชมนตรี คลองทวีวัฒนา คลองขุนราชพินิจใจ คลองสะแกงาม ผันน้ำสู่แม่น้ำ บางปะกง เพิ่มประสิทธิภาพการ ระบายนำ คลองระพิพัฒน์ คลองลำปลาทิว คลองพระองค์เจ้าฯ เพิ่มประสิทธิภาพ คลองเปรมประชากร คูข้างถนนวิภาวดี คลองลาดพร้าว คลองพระยาสุเรนทร์ พัฒนาระบบระบายน้ำ คลองตาขำ ขุดลอกสันดอน ปากแม่น้ำท่าจีน ขุดลอกสันดอน ปากแม่น้ำ เจ้าพระยา เพิ่มประสิทธิภาพการ ป้อนน้ำเข้าสู่ระบบสูบน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพคลองลัด คลองลัดงิ้วราย คลองลัดทรงคนอง อุโมงค์วัดท่าข้าม พัฒนาคลองส่งน้ำ เป็น คลองระบายน้ำด้วย คลองชัยนาท-ป่าสัก Flood way วงแหวนกาญจนาฯ ตะวันตก Flood way วงแหวนกาญจนาฯ ตะวันออก Street Canal พุทธมณฑลสายสี่ เพิ่มประสิทธิภาพคลองมหาสวัสดิ์ ฟื้นคลองยืมทางรถไฟ เชื่อมคลองแนวตั้ง สู่ท่าจีน เพิ่มสถานีสูบน้ำชายทะเล ปลายน้ำ: มาตรการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ 24

25 การฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่หน่วงน้ำ-แก้มลิง บึงบอระเพ็ด จ.นครสวรรค์ ระบบคลองและ ทางน้ำหลากที่ เชื่อมต่อบึง พื้นที่ถมเพื่อ งานก่อสร้างของภาครัฐ ภายในบึงบอระเพ็ด ที่มา: ข้อเสนอวาระแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา โครงการฟื้นฟูแก้มลิงบึงบอระเพ็ด จ.นครสวรรค์ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ, 2550 มีปัญหาการทับถมของ ตะกอน ปีละ 2 ล้านลบ.ม. (เท่ากับถมดินสูง 5 ม. ใน สนามฟุตบอล 97 สนาม) 25

26 ผังการจัดกลุ่มภารกิจด้านทรัพยากรน้ำ 26

27 โครงการถนนระบายน้ำคสล. บ้านโคกพลวง อ. นางรอง จ. บุรีรัมย์ ปรับความลาดเอียงจากริมถนนเข้าสู่ศูนย์กลาง 2.5 องศา ความกว้างผิวทาง 4.0 เมตร ระยะทาง 680 เมตร ( สร้างใหม่ 280 เมตร ปรับปรุงถนนเดิมโดยเสริมคันหิน 400 เมตร ) ไหล่ทางลูกรังบดอัดแน่น หรือตามสภาพพื้นที่ งบประมาณก่อสร้าง 1,185,000 บาท

28 ภาพแสดงทาง เบี่ยง ขุดลอกตะกอนในรางระบายน้ำเดิม เพื่อใช้ระบายน้ำจากพื้นที่พักอาศัย โครงสร้างแนวกั้นน้ำ ( คันหิน ) คอนกรีตเสริมเหล็ก

29 บ้านเรือนที่ประสบ ปัญหา น้ำท่วมหลากทุกปี ปรับปรุงสระเก็บน้ำ เดิม เพื่อบริหาร จัดการเป็น “ แก้ม ลิง ” ถนนระบายน้ำคสล. ระยะทาง 280 ม. แนวถนน คสล. เดิม ขุดลอกรางระบาย น้ำ เสริมแนวคันหิน พื้นที่รับน้ำ 400 ไร่


ดาวน์โหลด ppt 1 สรุปสถานการณ์น้ำประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2554 จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมกราคม 2555.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google