ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน
สัมมนาโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง วันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน ประกอบด้วย ๑. จากสำนักงานเกษตรจังหวัด ๔๕ จังหวัด จังหวัดละ ๓ คน - เกษตรจังหวัด - หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต - นักวิชาการที่รับผิดชอบงานบริหารศัตรูพืชจังหวัด ๒. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร ๕ เขตๆ ละ ๒ คน - ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต - นักวิชาการที่รับผิดชอบงานบริหารศัตรูพืชเขต ๓. ศูนย์บริหารศัตรูพืช ๗ ศูนย์ๆละ ๒ คน - ผู้อำนวยการศูนย์บริหารศัตรูพืช - นักวิชาการผู้รับผิดชอบงานเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
2
เนื้อหาสัมมนา ๑.บรรยาย เรื่อง การใช้ศัตรูธรรมชาติควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย ดร.อัมพร วิโณทัย นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ และนางประภัสสร เชยคำแหง นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ สำนักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร เรื่อง การจัดการระบบปลูกมันสำปะหลังเพื่อควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย ดร.โอภาษ บุญเส็ง นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยพืชไร่ จังหวัดระยอง กรมวิชาการเกษตร
3
๒.ชี้แจงโครงการ กิจกรรมและงบประมาณโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ปี ๒๕๕๔ โดยนางวัชรีพร โอฬารกนก ผู้อำนวยการส่วนบริหารศัตรูพืช กรมส่งเสริมการเกษตร การวิจัยแบบ R2R โครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ปี ๒๕๕๔ โดยนางสุกัญญา อธิปอนันต์ ผู้อำนวยกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร การจัดสรรสารเคมี โดย นายศักดา ศรีนิเวศน์ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
4
การรายงานพื้นที่ระบาด และแบบรายงาน โดย นายกิตติศักดิ์ จันทสังข์ นักวิชาการ
เกษตรชำนาญการ สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร แบบรายงานต่างๆที่ใช้ในการรายงานในกิจกรรมสนับสนุนสานเคมีแช่ท่อนพันธุ์ นางสาวจุฬาภรณ์ นกสกุล นักวิชาการเกษตรเกษตรปฏิบัติการ สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
5
๓. .ให้นโยบาย อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ให้นโยบายการรายงานพื้นที่ระบาด
-รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรฝ่ายบริหาร ให้นโยบายแนวทางการ ดำเนินโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ปี ๒๕๕๔ -รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรฝ่ายวิชาการ ให้นโยบายหลักเกณฑ์ การสนับสนุนสารเคมีแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง โครงการจัดการ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ปี๒๕๕๔
6
ผลที่ได้รับจากการสัมมนา
๑.ผู้ร่วมสัมมนาได้รับทราบเนื้อหาวิชาการด้านการควบคุมเพลี้ยแป้ง มันสำปะหลัง ๒.การบริหารจัดการโครงการ โดยวิธีบูรณาการเทคโนโลยี (IPM) ได้แก่ - การใช้ศัตรูธรรมชาติ ๓.ผู้ร่วมสัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการปฏิบัติงานด้านการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังระหว่างผู้ร่วมสัมมนา - การเขตกรรม - การใช้สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์ - ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
7
๔.ทราบแบบรายงาน และวิธีการรายงานพื้นที่ระบาดของเพลี้ยแป้ง
มันสำปะหลังที่ถูกต้องและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ๕.ผู้ร่วมสัมมนาทราบหลักเกณฑ์การสนับสนุนสารเคมีแช่ท่อนพันธุ์ มันสำปะหลัง ก่อนปลูกตามโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.