งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
สำนักงานเกษตรอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

2 คณะทำงานการจัดการความรู้ในองค์กร อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี
คณะทำงานการจัดการความรู้ในองค์กร อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 1. นางสุภาพร บุญประเสริฐ เกษตรอำเภอโพธาราม ประธานคณะทำงาน 2. นายวิจิตร กณะโกมล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว คณะทำงาน 3. นายปัญญา ลูกรักษ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว คณะทำงาน 4. นายโชคดี ตั้งจิตร นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว คณะทำงาน 5. นายสิงห์ สวัสดี นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว คณะทำงาน 6. นายเสรี มุ่งเมือง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว คณะทำงาน 7. นายนพดล สร้อยน้ำ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว คณะทำงาน 8. นางบุญสม งามเนตร นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว คณะทำงาน 9. นายชวลิต กลิ่นเกษร เจ้าพนักงานการเกษตร คณะทำงาน 10. นายปริญญา ขำเจริญ เจ้าพนักงานการเกษตร คณะทำงาน 11. นางจิตรา ลี้เลอเกียรติ เจ้าพนักงานการเกษตร คณะทำงาน 12. นายวิวัฒน์ ภู่พร้อม นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร คณะทำงาน 13. น.ส.จุฑารัตน์ เนื่องผาสุข นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร คณะทำงาน 14. นายประชิน สังขานวม นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว คณะทำงานและเลขานุการ

3 การผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
โดย... น.ส. จิรนันท์ วงเต็ม บ้านเลขที่ 99/3 หมู่ที่ 9 ตำบลท่าชุมพล อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี

4 เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า คืออะไร?
เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า คืออะไร? เชื้อราไตรโคเดอร์มา เป็นเชื้อราชั้นสูง เป็นศัตรูต่อเชื้อสาเหตุโรคพืช ประโยชน์ของเชื้อราไตรโคเดอร์มา ช่วยลดกิจกรรมของเชื้อโรคพืช ลดปริมาณเชื้อโรคพืช ช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตของพืช ช่วยเพิ่มความต้านทานโรคของพืช

5 วัสดุอุปกรณ์การทำเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด

6 การเตรียมเลี้ยงเชื้อ
1. ใช้ปลายข้าว 3 ส่วน : น้ำสะอาด 2 ส่วนหุงด้วยหม้อหุงข้าว 2. ตักข้าวสุกขณะยังร้อนใส่ถุง 250 กรัม ต่อถุง 3. กดข้าวให้แน่นแผ่แบนรีดอากาศออกแล้วพับปากถุง 4. เหยาะหัวเชื้อขณะข้าวยังอุ่น ลงในถุง 4-5 ครั้ง 5. รัดยางตรงปลายปากถุงให้แน่น 6. ขยำข้าวในถุงเบาๆเพื่อกระจายผงเชื้อให้ทั่ว

7 การเตรียมเลี้ยงเชื้อ
7. รวบถุงให้บริเวณปากถุงพองใช้เข็มแทงรอบๆ ประมาณ 20 ครั้ง 8. กดข้าวในถุงให้แน่นให้แผ่กระจายและแบนราบ แล้วดึงบริเวณกลางถุงขึ้นเพื่อเพิ่มอากาศ 9. บ่มเชื้อในบริเวณที่รับแสงธรรมชาติ อย่างน้อย 10 – 12 ช.ม./วัน 10. เมื่อบ่มเชื้อได้ 2 วัน ให้ขยำข้าวในถุงเบา ๆ แล้วกดข้าวให้ แบนราบเช่นเดิม แล้วดึงกลางถุงให้โป่งขึ้นด้วย 11. บ่มต่ออีก 4 – 5 วัน จะเห็นเชื้อสีเขียวอย่างหนาแน่น 12. นำไปใช้ทันที หรือเก็บไว้ในตู้เย็นช่องธรรมดา

8 ภาพการเตรียมเลี้ยงเชื้อ

9 ภาพการเตรียมเลี้ยงเชื้อ

10 วิธีการนำเชื้อราไตรโครเดอร์มาไปใช้
1. ใช้ผสมกับปุ๋ยหมัก เชื้อ 1 ก.ก.: รำละเอียด 4 ก.ก. : ปุ๋ยหมัก 100 ก.ก.

11 1. ใช้ผสมกับปุ๋ยหมัก

12 2. ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาไปกับเรือรดน้ำหรือ ระบบสปริงเกอร์ 3
2. ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาไปกับเรือรดน้ำหรือ ระบบสปริงเกอร์ 3. ฉีดพ่นที่ส่วนของพืชเพื่อป้องกันโรคต่าง ๆ อัตราเชื้อ 1 ก.ก. : น้ำ 200 ลิตร

13 การถ่ายทอดความรู้ เรื่องการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด โดย วิทยากรเกษตรกร
น.ส.จิรนันท์ วงเต็ม บรรยายและสาธิต การผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มา ให้กับเกษตรกรศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียงตำบลดอนทราย

14 สรุปข้อดีของการส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสดใช้เอง
เพื่อลดต้นทุนการผลิตให้กับเกษตรกร เพื่อลดการใช้สารเคมี เพื่อให้เกษตรกรไม่ทำลายสภาพธรรมชาติระบบนิเวศน์ เกษตรกรสามารถผลิตเองได้ตามจำนวนความต้องการ เกษตรกรสามารถผลิตไว้ใช้เองได้อย่างต่อเนื่อง เน้นการสนับสนุนเกษตรกรทำการเกษตรการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

15 การผลิตเชื้อราไตรโครเดอร์มา โดยใช้สาร พ.ด.3
โดย... นายแขวง ขาวสะอาด (หมอดินอำเภอโพธาราม) บ้านเลขที่ 26/1 หมู่ที่ 7 ตำบลดอนทราย อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี


ดาวน์โหลด ppt การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google