ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Legal System Subject of Law
Rule of Law – Civil Case & Criminal Case, Private & Public Law Crime & Punishment Legal Process 12 Legal System
2
Subject of Law การลงโทษกับบุคคลผู้กระทำความผิดโดยตรง
บุคคลตามกฎหมาย – มนุษย์เป็นประธานแห่งสิทธิตามกฎหมาย ในการที่จะดำเนินการอันมีผลทางกฎหมายได้ ในสายตาของกฎหมาย คุณค่าของมนุษย์ต้องได้รับการเคารพ เช่น กฎหมายถือว่ามนุษย์มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน Equal before the law! การลงโทษกับบุคคลผู้กระทำความผิดโดยตรง ไม่ลงโทษอย่างทรมาน 12 Legal System
3
กฎหมายแพ่ง และกฎหมายอาญา
กฎหมายแพ่ง และกฎหมายอาญา กฎหมายเป็นเครื่องมือกำหนดแบบแผนในสังคมมนุษย์ที่กำหนดไว้ในด้านต่างๆ เช่น ชีวิตร่างกาย ทรัพย์สิน การจัดการทรัพยากร การค้า ทำสัญญา เรื่องทางแพ่ง – บุคคล ครอบครัว มรดก ทรัพยสิน นิติกรรม สัญญา 12 Legal System
4
กฎหมายเอกชน กับ กฎหมายมหาชน
กฎหมายแต่ละตัวที่มีขึ้นมีวัตถุประสงค์ต่างๆกันไป กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ – เน้นที่เสรีภาพของบุคคลในการกระทำการ เมื่อไม่มีกฎหมายห้ามไว้ กฎหมายอาญา – รักษาความสงบ เรียบร้อยของสังคม กฎหมายมหาชน – รักษาสมดุลระหว่าง ประโยชน์สาธารณะกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ดังนั้นการใช้อำนาจมหาชนจึงต้องอยู่บนพื้นฐานของกฎหมายที่ให้อำนาจไว้เสมอ 12 Legal System
5
กฎหมายและการลงโทษ การจะลงโทษคนทางอาญาได้ ต้องมีการบัญญัติไว้ว่าเป็นความผิด และต้องมีการกำหนดโทษไว้ บุคคลจะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายไม่ได้ หลักการพื้นฐานของความผิด – ไม่มีความผิดถ้าไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ บุคคลจะรับโทษทางอาญาก็ต่อเมื่อมีกฎหมายในขณะกระทำความผิดได้บัญญัติไว้ว่าเป็นความผิดและได้กำหนดโทษไว้ ถ้าไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ก็ไม่เป็นความผิดและการออกกฎหมายย้อนหลังก็เป็นสิ่งที่ต้องห้าม 12 Legal System
6
การกระทำที่เป็นความผิดต้องเป็นการแสดงออกให้เห็นอย่างชัดเจน
ต้องเป็นการกระทำหรือไม่กระทำที่แสดงปรากฏให้เห็น หากเป็นความรู้สึกนึกคิดเพียงอย่างเดียวไม่สามารถลงโทษได้ ต้องเป็นการกระทำโดยรู้สำนึก คือ ขณะที่ลงมือกระทำ ผู้กระทำต้องมีสติหรือตระหนักรู้ถึงการกระทำของตนว่ากระทำอะไรและจะมีผลอย่างไรเกิดขึ้น คำถาม เด็ก ๕ ขวบ เอาปืนมายิงเล่น, คนบ้าใช้ดาบตัดคอผู้อื่น, เมาเหล้ายิงปืนโดนคนตาย 12 Legal System
7
ปัญหาบางประการในการกำหนดการกระทำให้เป็นความผิด
โดยทั่วไปมักกำหนดให้การกระทำที่ส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่นเป็นสิ่งที่เป็นความผิด แต่การกระทำบางอย่าง เช่น ดื่มเหล้า, รักร่วมเพศ, ค้าประเวณีโดยสมัครใจ ทำไมจึงเป็นความผิดในสังคม (บางแห่ง) 12 Legal System
8
รูปแบบของ การกระทำที่เป็นความผิด
การกระทำหรือไม่กระทำที่ทำให้เกิดผล โดยทั่วไปความผิดต้องมาจากการกระทำ เช่น การฆ่าผู้อื่น การทำร้ายผู้อื่น ฯลฯ แต่มีความผิดจากการไม่กระทำ เป็นการกระทำโดยตรงหรือการกระทำโดยอ้อมก็สามารถเป็นความผิด การกระทำโดยตรง หมายถึงเป็นผู้กระทำด้วยตนเอง เรียกว่า ความผิดโดยงดเว้น การกระทำโดยอ้อม ไม่ได้เป็นผู้กระทำด้วยตนเอง แต่มีส่วนสำคัญในการทำให้ความผิดเกิดขึ้น 12 Legal System
9
เป็นผู้ลงมือปล้นร้านทองด้วยการใช้ปืนเป็นอาวุธ
คำถาม เป็นผู้ลงมือปล้นร้านทองด้วยการใช้ปืนเป็นอาวุธ ร่วมวางแผนแต่ไม่ได้ไปปล้นด้วย เปิดประตูเพื่อให้ขโมยเข้ามาตอนกลางคืน ไม่ได้ร่วมปิดสนามบิน แต่ส่งข้าวส่งน้ำ 12 Legal System
10
เหตุบางอย่างที่กฎหมายให้อภัย คำถาม
มีบุคคลถือมีดดาบจะวิ่งเข้ามาทำร้าย ถ้าเรามีปืนยิงไปเพื่อป้องกันตัว มีความผิดหรือไม่ อยู่ในเรือกลางทะเล ไม่มีผู้ใดมาช่วยเหลือ ตกลงกันฆ่าคนหนึ่งเพื่อใช้เป็นอาหาร เป็นความผิดหรือไม่ 12 Legal System
11
บุคคลนั้นได้กระทำในสิ่งที่เป็นความผิด แต่กฎหมายให้ถือว่าได้รับการยกเว้นไม่มีความผิดหรือไม่ต้องรับโทษเนื่องจากเป็นการกระทำที่มีเหตุผลบางอย่างรองรับ ป้องกัน มีการกระทำบางอย่างเป็นการละเมิดต่อกฎหมายเกิดขึ้น และเป็นอันตรายที่ใกล้จะถึง การกระทำเพื่อยุติการละเมิดกฎหมายนั้นอย่างพอสมควร จำเป็น การกระทำอันเนื่องมาจากตกอยู่ในสถานการณ์ที่จำเป็นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อให้ตนหรือผู้อื่นพ้นไปจากอันตรายซึ่งไม่สามารถกระทำได้ด้วยวิธีการอื่น 12 Legal System
12
- ล้อมรั้วบ้านปล่อยกระแสไฟฟ้า กลางคืนมีขโมยมาปีนแล้วโดนไปดูดตาย
คำถาม - ล้อมรั้วบ้านปล่อยกระแสไฟฟ้า กลางคืนมีขโมยมาปีนแล้วโดนไปดูดตาย - ตำรวจมาซุ่มอยู่ริมรั้วตอนกลางคืน เจ้าของบ้านเอาปืนยิงตาย - นักศึกษาทุจริตในการสอบ 12 Legal System
13
การยกโทษ หรือการยกเว้นโทษ
เมื่อมีการตัดสินแล้วว่าบุคคลนั้นได้กระทำความผิดจริง ในทางกฎหมายอาจมีการยกโทษให้ การอภัยโทษ เมื่อบุคคลได้สำนึกผิดและได้รับโทษไปบางส่วนแล้ว อาจขอให้ประมุขของรัฐทำการยกโทษให้ การนิรโทษกรรม คือการออกกฎหมายมาหลังจากที่ได้เกิดการกระทำความผิดต่อกฎหมายที่กำหนดไว้แล้ว ว่าการกระทำนั้นได้รับการยกเว้นว่าไม่ต้องรับโทษ 12 Legal System
14
การลงโทษ การลงโทษต้องได้สัดส่วนกับการกระทำ
หลักการพื้นฐาน รัฐเป็นผู้ผูกขาดอำนาจในการลงโทษ เพื่อไม่ให้เกิดการบังคับใช้กฎหมายโดยเอกชนซึ่ง อาจสร้างความวุ่นวายให้เกิดขึ้น เช่น กินหมูกระทะ ไม่หมด ปรับ 200 บาท การลงโทษต้องได้สัดส่วนกับการกระทำ กระทำความผิดรุนแรงก็ต้องได้รับโทษที่รุนแรง หากกระทำความผิดที่รุนแรงน้อยก็ต้องได้รับโทษน้อย โทษต้องได้สัดส่วนกับความผิดที่กระทำลง เช่น เพื่อป้องกันการลักทรัพย์ให้มีโทษจำคุกตลอดชีวิต 12 Legal System
15
บทลงโทษต้องมีประสิทธิภาพในการปรามการกระทำความผิด
ต้องทำให้ผู้กระทำรู้สึกกลัวและไม่สามารถหาประโยชน์จากการกระทำผิดได้ เช่น ปล้นทรัพย์ โทษจำคุก1 เดือน การลงโทษต้องเคารพสิทธิมนุษยชน ต้องไม่มีการลงโทษในลักษณะของการทรมานหรือประจานผู้กระทำความผิด และหากผู้กระทำเป็นเด็ก เยาวชน ต้องเปิดโอกาสให้มีการกลับตัวกลับใจได้ 12 Legal System
16
ป้องปรามไม่ให้ผู้อื่นกระทำตาม ฟื้นฟูเยียวยาผู้กระทำความผิด
เป้าหมายของการลงโทษ แก้แค้นทดแทน ป้องปรามไม่ให้ผู้อื่นกระทำตาม ฟื้นฟูเยียวยาผู้กระทำความผิด รูปแบบของการลงโทษ กระทำต่อชีวิต ประหารชีวิต กระทำต่อเสรีภาพในร่างกาย จำคุก/กักขัง กระทำต่อทรัพย์สิน ปรับ/ริบทรัพย์สิน บังคับให้กระทำการบางอย่าง 12 Legal System
17
รูปแบบของการลงโทษ สภาพบังคับทางปกครอง – การเพิกถอนสิทธิ เช่น การได้รับสัมปทาน, ใบอนุญาตกระทำการต่างๆ สภาพบังคับทางกฎหมายแพ่ง – เรียกค่าเสียหาย สภาพบังคับทางอาญา – ประหารชีวิต, จำคุก, กักขัง, ปรับ, ริบทรัพย์สิน จบการบรรยายในวันอังคารตรงนี้ 12 Legal System
18
กระบวนการยุติธรรม การต้องมีคนดูแลจัดการให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายหลังจากที่มีการบัญญัติไว้แล้ว เช่น ตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ 12 Legal System
19
กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง
การที่คนเราเท่าเทียมกัน ภาวะไร้รัฐ state of nature การต้องตามบังคับคดี การมีหน่วยงานจัดการหักเงิน ณ ที่จ่ายเพื่อตัดปัญหาต้องตามทวงทุกเดือน 12 Legal System
20
การพิสูจน์ ระบบกล่าวหา ระบบไต่สวน คดีหมอวิสุทธ-หมอภัสสภร คดีเชอรี่แอน
คดีอากง คดีบก./เฟสบุค ไม่ได้ประกันตัว จบ ☃ 12 Legal System
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.