งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555
ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล (น้ำหนัก 1.0)

2 ผลการดำเนินงาน ปี 2554 คปสอ.ขนาดใหญ่ รพ.อุดรธานี ระดับ 5 รพ.หนองหาน ระดับ 4 รพร.บ้านดุง ระดับ 4 รพ.บ้านผือ ระดับ 3 รพ.กุมภวาปี ระดับ 3 รพ.เพ็ญ ระดับ 3 คปสอ.ขนาดกลาง รพ.หนองวัวซอ ระดับ 5 รพ.ศรีธาตุ ระดับ 5 รพ.โนนสะอาด ระดับ 4 รพ.น้ำโสม ระดับ 2 รพ.วังสามหมอ ระดับ 2 รพ.กุดจับ ระดับ 2

3 ผลการดำเนินงาน ปี 2554 คปสอ.ขนาดเล็ก
รพ.หนองแสง ระดับ 3 รพ.ทุ่งฝน ระดับ 2 รพร.นายูง ระดับ 2 รพ.สร้างคอม ระดับ 2 รพ.ไชยวาน ระดับ 2 รพ.พิบูลย์รักษ์ ระดับ 2

4 เป้าหมาย ปี 2555 คปสอ.ขนาดใหญ่ รพ.ทุกแห่งได้รับการประเมินยกระดับเป็นระดับ 5 ครบทุกแห่ง (โดยสำนักโรคจากการประกอบอาชีพ กระทรวงสาธารณสุข) คปสอ.ขนาดกลาง รพ.โนนสะอาด ยกระดับเป็นระดับ 5 รพ.น้ำโสม และ รพ.วังสามหมอ รพ.กุดจับ ยกระดับ เป็นระดับ 4 คปสอ.ขนาดเล็ก รพ.หนองแสง ยกระดับเป็นระดับ 5 รพ. 5 แห่ง ยกระดับเป็นระดับ

5 ใช้เกณฑ์การประเมิน ปี 2554 (เล่มสีเขียว) อ้างอิงคู่มือจาก สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กรทรวงสาธารณสุข แบ่งเป็น 5 ระดับ ระดับ 1-5 ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ 10 ข้อใหญ่ ข้อย่อย

6 วิธีการประเมิน Paper จากเอกสาร หลักฐานต่างๆ
Participation จากการซักถามข้อมูลเพิ่มเติมจาก ผู้รับผิดชอบและผู้ที่เกี่ยวข้อง Practice จากการเดินสำรวจในพื้นที่ ปฏิบัติงานและซักถามบุคลากร

7 หน่วยงานรับผิดชอบการประเมินฯ
ระดับ 1 – 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ระดับ 3 – 4 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น ระดับ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ การขอรับการประเมินระดับ 5 ต้องจัดเตรียมเอกสาร และ จัดการความเสี่ยงภายในโรงพยาบาลให้เสร็จสิ้นก่อน ถึงจักแสดงความจำนงต่อ สคร. 6 ขอนแก่น ก่อนเดือนมีนาคม เพื่อขอคิวรับการประเมินกับ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ฯ

8 เกณฑ์การประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ
1. การบริหารจัดการ 2. การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 3. การติดตามประเมินผล

9 เกณฑ์การประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ
จำนวนข้อ จำนวนข้อ

10 ระดับความสำเร็จ ระดับ 1 ระดับพอใช้ มีพื้นฐาน นโยบาย ทีมงาน แผนการดำเนินงาน ตรวจสุขภาพทั่วไป ระดับ 2 ระดับเริ่มมีการแก้ไขปรับปรุง มีการดำเนินการสำรวจความเสี่ยงด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ระดับ 3 ระดับมีแนวโน้มที่ดีในกิจกรรมสำคัญ มีการทำงานที่เป็นระบบ ใช้หลักให้ความสำคัญกับการสื่อสารเพื่อความเข้าใจและจัดลำดับความเสี่ยงโดยใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ระดับ 4 ระดับมีผลลัพธ์ที่ดีในทุกกิจกรรมที่สำคัญ มีแผนและระบบควบคุมและแก้ไขความเสี่ยงที่ดี ระดับ 5 ระดับมีการดำเนินงานผลลัพธ์ดีมาก มีแผนและระบบควบคุมและแก้ไขความเสี่ยงที่ดี ตลอดจนปรับปรุง / พัฒนาอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไป

11 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google