ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChalerm Vilailuck ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
กรมคุ้มครองสิทธิและ เสรีภาพ ทำไมจึงมีการรณรงค์ เปลี่ยนแปลงโทษ ประหารชีวิต
2
ความเป็นมา หลักการและแนวคิด เกี่ยวกับโทษประหารชีวิต ปรัชญาการลงโทษ 1. การยับยั้งการกีดขวาง (Deterrence) 2. การตัดโอกาส (Incapacitation) 4. การแก้แค้น (Retribution) 5. การแก้ไขฟื้นฟู (Rehabilitation) 6. ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice)
3
การประหารชีวิต เป็นการกระทำที่ละเมิดต่อ กฎหมายระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน เพราะเป็นการละเมิดสิทธิในการมีชีวิตอยู่ แนวโน้มการใช้โทษประหารชีวิตทั่วโลกมี จำนวนลดลงเรื่อยๆ และกว่า 140 ประเทศ หรือ 3 ใน 4 ของประเทศทั่วโลก ได้ยกเลิก โทษประหารชีวิต ยังคงเหลือเพียง 58 ประเทศ ซึ่งไทยก็เป็นหนึ่งในประเทศที่ยังคง ใช้โทษประหารชีวิตอยู่ ทำไมทั่วโลกถึงรณรงค์ให้มีการ ยกเลิกโทษประหารชีวิต
4
เหตุผลที่ยกเลิกโทษ ประหารชีวิต ขัดต่อหลักสิทธิมนุษยชนขั้น พื้นฐานในการมีชีวิตอยู่ นักโทษประหารชีวิต ส่วนใหญ่ เป็นคนจน ด้อยโอกาส ไม่มีโอกาสต่อสู้คดี การเลือกปฏิบัติในระบบยุติธรรม ทางอาญา การใช้โทษประหารชีวิตไม่ สามารถยับยั้งการเกิด อาชญากรรมได้
5
ทิศทางการเปลี่ยนแปลงโทษ ประหารชีวิตในประเทศไทย
6
ประเทศไทยเป็น 1 ใน 58 ประเทศ ที่ยังคงใช้โทษประหารชีวิต แต่มีสัญญาณบวกที่ดีใน หลายๆ ประการ
7
ประเทศในประชาคมอาเซียนที่มีการ ยกเลิกโทษประหารชีวิต และยังคงบทลงโทษประหารชีวิต ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิต สำหรับความผิดทางอาญาทุกประเภท ได้แก่ กัมพูชา ฟิลิปปินส์ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิต ในทางปฏิบัติ ได้แก่ บรูไน พม่า และลาว ประเทศที่ยังคงโทษประหารชีวิต ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ เวียดนามและ ไทย
8
โทษประหารชีวิต ช่วยให้สังคมสงบสุขและ ปลอดภัยจากอาชญากรรมได้ จริงหรือไม่ ?
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.