งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย

2 1. หญิงมีครรภ์ได้รับการปรึกษาธาลัสซีเมียทุกราย 2
1. หญิงมีครรภ์ได้รับการปรึกษาธาลัสซีเมียทุกราย 2. หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองหากผลผิดปกติ ตามสามีตรวจคัดกรองทุกราย 3. คู่สมรสหากผลตรวจคัดกรองผิดปกติ ได้รับการ ตรวจยืนยันคู่สมรสเสี่ยงทุกคู่ นโยบายธาลัสซีเมีย

3 5. สถานบริการสาธารณสุขจัดระบบบริการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคทุกแห่ง
4. หญิงมีครรภ์เข้าข่ายคู่สมรสเสี่ยง ได้รับการตรวจ ทารกในครรภ์ก่อนคลอดทุกราย 5. สถานบริการสาธารณสุขจัดระบบบริการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคทุกแห่ง 6. นักเรียน หญิงวัยเจริญพันธ์ คู่สมรสได้รับความรู้ธาลัสซีเมียทั่วถึง

4 แนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค 1. การให้ความรู้ 2
แนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค 1. การให้ความรู้ 2. การตรวจกรองหาคู่สมรสเสี่ยง 3. การให้การปรึกษา 4. การตรวจวินิจฉัยโรคก่อนคลอด 5. การเสนอทางเลือก

5 การให้บริการตรวจกรองธาลัสซีเมียแก่ หญิงตั้งครรภ์/สามีที่ได้มาตรฐาน
การให้บริการตรวจกรองธาลัสซีเมียแก่ หญิงตั้งครรภ์/สามีที่ได้มาตรฐาน ประกอบด้วย 1. การให้การปรึกษาทางพันธุกรรมหญิงมีครรภ์ทุกคน รายบุคคล รายกลุ่ม 2. การตรวจกรองธาลัสซีเมียเบื้องต้นแก่หญิงมีครรภ์ตาม ความสมัครใจ 3. การติดตามสามีของหญิงตั้งครรภ์ที่มีผลการตรวจคัดกรอง เบื้องต้น ทุกคน

6 4. การตรวจยืนยันผล หญิงตั้งครรภ์/สามีว่าเป็นคู่สมรสเสี่ยงที่มีโอกาสมีบุตรเป็นโรคชนิดรุนแรง 3 ชนิด
5. การตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอดให้แก่คู่สมรส ( หญิงตั้งครรภ์)ที่มีโอกาสมีบุตรเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง 6. การให้การปรึกษาแก่คู่สมรสที่ทราบว่าบุตรในครรภ์เป็นโรคชนิดรุนแรง เพื่อให้ข้อมูลและการนำเสนอทางเลือกแก่คู่สมรสเพื่อการมีลูกที่แข็งแรงปลอดภัย

7 เป้าหมายการดำเนินงาน
ระดับผลผลิต 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการให้คำปรึกษา “ ธาลัสซีเมีย “100 % 2.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียไม่น้อยกว่า %

8 หญิงตั้งครรภ์ที่มีผลคัดกรองผิดปกติให้ตามสามีเพื่อตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย 100%
หญิงตั้งครรภ์และสามีที่มีผลคัดกรองผิดปกติได้รับการตรวจวินิจฉัยคู่สมรสเสี่ยง 100% หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นคู่สมรสเสี่ยงได้รับการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอด 100 %

9 ระดับผลลัพธ์ 1. คู่สมรสเสี่ยงที่ทราบว่าบุตรในครรภ์เป็นโรคชนิดรุนแรงได้รับการปรึกษาและเลือกสิ้นสุดการตั้งครรภ์ 2. เด็กแรกเกิดที่เป็นโรคธาลัสซีเมียลดลง

10 สถานบริการ โรงพยาบาลของรัฐทุกระดับจัดบริการ ส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังโรคธาลัสซีเมียได้มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

11 การจัดบริการในโรงพยาบาล
มีการติดคำประกาศนโยบาย การส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมียให้ผู้รับบริการเห็นชัดเจนในสถานที่ที่เหมาะสม มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในการดำเนินงานโครงการ ฯ ทุกระดับ

12 3. มีเครือข่ายและระบบการส่งต่อในการบริการด้านการ ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
4. มีระบบข้อมูลการบริการธาลัสซีเมียที่เป็นปัจจุบัน และสามารถตรวจสอบได้

13 ภาพในอุดมคติ ถ้าการป้องกันและควบคุมโรคได้ผล ไม่มีเด็กเกิดใหม่ป่วยเป็นโรค เด็กป่วยได้รับการรักษา เด็กไทยแข็งแรง พัฒนาการสมวัย IQ & EQ ดี เป็นผู้ใหญ่ที่แข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง

14 การเบิกจ่ายงบประมาณ การเบิกงบประมาณการตรวจคัดกรอง
ค่า ตรวจด้วย OF / MCV รายละ 13 บาท ค่าตรวจด้วย DCIP รายละ 17 บาท โดย รพ. ทุกแห่งจัดทำทะเบียนรายชื่อเก็บไว้ที่ โรงพยาบาล ส่งใบสำคัญรับเงินเบิกที่งานส่งเสริมสุขภาพ พร้อมรายงานเฉพาะกิจเป็นรายงวด

15 ใบสำคัญรับเงิน รายการ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ใบสำคัญรับเงิน วันที่……………………………………………… ข้าพเจ้า ( ผอก.รพ.หรือผู้ได้รับมอบหมาย) อยู่บ้านเลขที่ ……… ( รายการที่อยู่ผู้ลงนาม )…………….. ตำบล…………………………...อำเภอ………………..จังหวัดอุดรธานี ได้รับเงินจาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ดังรายการต่อไปนี้ รายการ จำนวนเงิน - ค่าบริการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย ด้วย OF จำนวน ……….ราย ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน - ค่าบริการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย ด้วย DCIP จำนวน …...ราย ๆ ละ 17 บาท เป็นเงิน จำนวนเงิน…………………………………………………… ลายเซ็น ( ผู้ที่ลงนามข้างต้น ) ผู้เบิกเงิน (……………………………………….) ลงชื่อ ( สสจ.ลงนาม ) ผู้ตรวจเอกสาร

16 2 การให้บริการตรวจยืนยันคู่สมรสเสี่ยง
2 การให้บริการตรวจยืนยันคู่สมรสเสี่ยง ค่าบริการตรวจ Hemoglobin typing รายละ 250 บาท ค่าบริการตรวจแอลฟ่าธาลัสซีเมีย รายละ 350 บาท 3. ค่าบริการตรวจวินิจฉัยคู่เสี่ยง รายละ 2,500 บาท 4. ค่าบริการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ รายละ 1,500 บาท ข้อ 2 – 4 หน่วยบริการที่ให้บริการเป็นผู้เบิก

17 ( ต.ค -ธ.ค , ม.ค -มี.ค , เม.ย- มิ.ย , ก.ค - ก.ย)
การจัดทำรายงาน รายงานโครงการส่งเสริมควบคุมและป้องกันโรคธาลัสซีเมีย จัดทำ/ส่ง สสจ.งวด 4 เดือน ( ต.ค -ธ.ค , ม.ค -มี.ค , เม.ย- มิ.ย , ก.ค - ก.ย) 2. แบบรายงานเฉพาะกิจโครงการพัฒนาโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวเพื่อพัฒนาการเด็กสมวัย

18 ( ต.ค -ธ.ค , ม.ค -มี.ค , เม.ย- มิ.ย , ก.ค - ก.ย)
3. รายงานบริการอนามัยแม่และเด็ก จัดทำ/ส่ง สสจ.งวด 4 เดือน ( ต.ค -ธ.ค , ม.ค -มี.ค , เม.ย- มิ.ย , ก.ค - ก.ย) 4. รายงานเอดส์ในแม่และเด็ก ( PHIMS , CHILD ) ส่งทุกเดือน

19 สวัสดี สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google