ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTharit Ratana ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
น.ส.ภาสุรภัค ขวัญพรหม รหัสนักศึกษา 5510610306 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร
น.ส.ภาสุรภัค ขวัญพรหม รหัสนักศึกษา ภาควิชา พัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ
2
รายงานการศึกษาภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมยาง และผลิตภัณฑ์ (กระทรวงอุตสาหกรรม)
กระทรวงอุตสาหกรรม ให้สำงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จัดทำรายงานฯ เมื่อเดือน ธันวาคม 2535 วัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ในระยะยาว โดยเฉพาะในช่วง แผนฯ 7 เพื่อกระจายการจัดตั้งโรงงานออกไปยังแหล่งวัตถุดิบให้กว้างขวางมากขึ้น เพื่อเพิ่มสัดส่วนปริมาณการใช้ยางธรรมชาติเพื่อทดแทนการส่งออกวัตถุดิบยางธรรมชาติ เพื่อรักษาเสถียรภาพของราคายาง/สนับสนุนให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยเสนอแนะหน่วยงานต่างๆในการพัฒนาอุตสาหกรรมยาง ดังนี้ สมอ.จัดอบรม/สัมมนาเผยแพร่ความรู้ด้านการควบคุมโรงงานตามแนว ISO 9000 สมอ.จัดทำแผนงานเพื่อกำหนดคุณภาพ ม.ยางดิบและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้เป็นที่น่าเชื่อถือและเพิ่มมูลค่า กสอ.จัดทำการศึกษาวิจัยลู่ทางการลงทุน เพื่อเพิ่มปริมาณการใช้ยาง สศอ. ประสานความร่วมมือหน่วยงานต่างๆ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
3
รายงานการศึกษาภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมยาง และผลิตภัณฑ์ (กระทรวงอุตสาหกรรม)
กระทรวงอุตสาหกรรม ให้สำงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จัดทำรายงานฯ เมื่อเดือน ธันวาคม 2535 วัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ในระยะยาว โดยเฉพาะในช่วง แผนฯ 7 เพื่อกระจายการจัดตั้งโรงงานออกไปยังแหล่งวัตถุดิบให้กว้างขวางมากขึ้น เพื่อเพิ่มสัดส่วนปริมาณการใช้ยางธรรมชาติเพื่อทดแทนการส่งออกวัตถุดิบยางธรรมชาติ เพื่อรักษาเสถียรภาพของราคายาง/สนับสนุนให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยเสนอแนะหน่วยงานต่างๆในการพัฒนาอุตสาหกรรมยาง ดังนี้ สมอ.จัดอบรม/สัมมนาเผยแพร่ความรู้ด้านการควบคุมโรงงานตามแนว ISO 9000 สมอ.จัดทำแผนงานเพื่อกำหนดคุณภาพ ม.ยางดิบและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้เป็นที่น่าเชื่อถือและเพิ่มมูลค่า กสอ.จัดทำการศึกษาวิจัยลู่ทางการลงทุน เพื่อเพิ่มปริมาณการใช้ยาง สศอ. ประสานความร่วมมือหน่วยงานต่างๆ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
4
นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยางในประเทศ
รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสำคัญของยางพาราและเห็นความจำเป็นในการที่จะต้องกำหนดเป้าหมายการพัฒนายางพารา จึงได้มีการจัดตั้ง “ คณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.)” ครั้งแรก มติครม.เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2536 ประธาน คือ รองนายกรมต. รองประธาน รมช.กษ และหน่วยงานภาครัฐ/เอกชนที่เกี่ยวข้อง หน้าที่ เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวกับยางธรรมชาติ ต่อครม. พิจารณาแก้ปัญหาราคายาง ส่งเสริมการใช้ยางธรรมชาติในประเทศ แนวทางการเจรจาเรื่องยางระหว่างประเทศ
5
นโยบายการพัฒนาอุตส่าหกรรมยางในประเทศไทย
รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสำคัญของยางพาราและเห็นความจำเป็นในการที่จะต้องกำหนดเป้าหมายการพัฒนายางพารา จึงได้มีการจัดตั้ง “ คณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.)” ครั้งแรก มติครม.เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2536 ประธาน คือ รองนายกรมต. รองประธาน รมช.กษ และหน่วยงานภาครัฐ/เอกชนที่เกี่ยวข้อง หน้าที่ เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวกับยางธรรมชาติ ต่อครม. พิจารณาแก้ปัญหาราคายาง ส่งเสริมการใช้ยางธรรมชาติในประเทศ แนวทางการเจรจาเรื่องยางระหว่างประเทศ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.