ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPongpob Plainukool ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
น. ต. อนุรัตน์ โรจนบุรานนท์.............. บรรยาย
2
แนวทางการปฎิบัติในการตรวจอากาศผิวพื้น ชนิดของการตรวจอากาศ ตรวจแบบประจำชั่วโมง SA บันทึกเวลานาที 55 - 59 ตรวจแบบพิเศษ SP ตรวจแบบประจำท้องถิ่น L ตรวจแบบพิเศษประจำชั่วโมง RS จุดตรวจอากาศ อาณาบริเวณพื้นที่ภายใน ๒ ไมล์ ฝนที่สถานีต้องตกลงตรงศีรษะ ตกนอกเหนือนี้เป็น VC
3
METAR/SPECI CCCC YYGGggZ AUTO COR dddff(f)Gf m f m (f m )KT d n d n d n Vd x d x d x VVVVVSM or VVVV [RD R D R /V R V R V R V R FT or RD R D R /V n V n V n V n VV x V x V x V x FT] w'w' [N s N s N s h s h s hs or VVh s h s h s or SKC/CLR ] T'T'/T' d T' d AP H P H P H P H RMK (Automated, Manual, Plain Language) (Additive and Automated Maintenance Data) U.S. METAR/SPECI CODE FORMAT WITH REMARKS } รูปรหัสข่าวอากาศแบบประจำชั่วโมง แบบพิเศษ แบบประจำถิ่น
4
ตรวจแบบพิเศษ เพดานเมฆ ( ฟุต ) ทัศนวิสัย ( ไมล์ ) 3,000 3 1,500 2 1,000 1 700 1/2 500 300 ตรวจพบ ลดลงต่ำกว่าเกณฑ์ อยู่ต่ำกว่าเกณฑ์แล้วเพิ่มขึ้นเท่ากับหรือมากกว่าเกณฑ์
5
* TORNADO, FUNNEL CLOUD, WATER SPOUT * THUNDER STORM * PRECIPITATION เมื่อตรวจพบหรือเริ่มเกิด เมื่อสิ้นสุด SQUALL เกิดขึ้นทันทีทันใด ความเร็วลมเพิ่มขึ้น ๑๖ นอตและต้องเท่ากับ ๒๒ นอตหรือมากกว่า WIND SHIFT ทิศทางลมเปลี่ยนไป ๔๕ องศาหรือมากกว่า ในเวลาน้อยกว่า ๑๕ นาที ความเร็วลมคงที่ ๑๐ นอตหรือมากกว่า RUNWAY CONDITION ทางวิ่งเปียก
6
STRONG WIND ตรวจพบความเร็วลมเพิ่มขึ้นเท่ากับ ๒๕ นอตหรือมากกว่า LOWER CLOUD ตรวจพบฐานเมฆต่ำกว่า ๑, ๐๐๐ ฟุต
7
ตรวจแบบประจำถิ่น * CUMULONIMBUS ตรวจพบเป็นครั้งแรก * CEILING ตรวจพบอยู่ที่ระดับ ๓, ๐๐๐ ฟุต * VISIBILITY ตรวจพบอยู่ที่ระดับ ๓ ไมล์ * VERY IMPORTANT PERSON โดยสารด้วยเครื่องของ ทอ. ขึ้น – ลงในพื้นที่รับผิดชอบ * AIRCRAFT เกิดอุบัติเหตุ ( ACFT MSHP )
8
* WIND ความเร็วลมเพิ่มขึ้นมากกว่า 35 นอต * OTHER เมื่อได้รับการร้องขอ หรือผู้บังคับบัญชาขอให้ตรวจ เช่น - ซ้อมป้องกันฐานบิน - อากาศยานเกิดอุบัติการ - แข่งขันกระโดดร่ม - ฯลฯ
10
1. ตรวจพบฝนตกที่ทางวิ่งทางขับแต่ที่สถานีไม่ตก บันทึก VCSH ในช่อง 5 VIS W 0200 VCSH SW-W RA FALLING OVR RWY21L ในช่อง 13 2. ตรวจพบกลุ่มควันปกคลุมด้านเหนือของทางวิ่ง ห่าง ประมาณ 3 ไมล์ บันทึก FU ( น้อยกว่า ๕ ไมล์ ) or VCFU ( ๕ – ๑๐ ไมล์ ) ใน ช่อง 5 VIS LWR N FU DRIFTING N or FU DRIFTING OVR N OF RWY or FU DRIFTING OVR RWY ในช่อง 13 3. ระยะห่างของเมฆ CUMULONIMBUS - สถานีที่มีเรดาร์ตรวจอากาศ ต้องรายงานระยะห่างทุก ครั้ง ถ้าอยู่ห่างเกิน ๓๐ ไมล์ ให้รายงานเป็นระยะไกล บันทึก CB 13N STNRY or CB DSNT MOV S ในช่อง 13 - สถานีที่ไม่มีเรดาร์ตรวจอากาศ ถ้าจะรายงานระยะห่าง สามารถรายงานได้ ถ้าทราบ ( ระวังข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน No Update ) หรือประเมินว่า อยู่ห่างเกิน ๑๐ ไมล์ ให้รายงานเป็นระยะไกล
11
4. ได้ยินเสียงฟ้าร้องไกลๆ บันทึก TS ในช่อง 5 TS N MOV NW ในช่อง 13 5. ตรวจไม่พบเมฆใดๆ สภาพอากาศไม่มี ทัศนวิสัยดีเยี่ยม บันทึก SKC ในช่องที่ 3 และ 0 ในช่อง 21 6. เมื่อมีสภาพอากาศหรือปรากฎการณ์หลายชนิดเกิดขึ้นพร้อมกันหรือไล่เลี่ยกัน ให้ จดบันทึกเวลาของสภาพอากาศที่เกิดในกระดาษ แล้วค่อยรวบรวมสารประกอบต่างๆ บันทึกลงในแผ่นตรวจอากาศ 7. ตรวจพบ ฝนตก ลมแรง ฟ้าแลบฟ้าร้อง ลูกเห็บตก ทัศนวิสัยต่ำ ทางวิ่งเปียก บันทึก + TSRAGR SQ ในช่อง 5 VIS SW – W 0100 FRQ LTGICCCCG TS OHD, SW AND CB S – W – NW GR ¼ WR// ในช่อง 13
12
8. ตรวจพบ ทางเมฆ หรือรุ้งกินน้ำ หรือพระอาทิตย์ทรงกลด หรือพระจันทร์ทรงกลด บันทึก CONTRAIL or CONTRAIL E RAINBOW or RAINBOW E HALO / CORONA ในช่อง 13 9. สถานีตรวจอากาศ ที่ไม่ได้ปฎิบัติงาน ๒๔ ชั่วโมง ถ้าจะรายงานฝนกลุ่ม 6RRRR ในเวลาเช้าของวันใหม่ บันทึก ESTMD PCPN 60002 ในช่อง 13 10. ตรวจพบ ฝนตกที่สถานี ทัศนวิสัยทั่วไป 2 ไมล์ บันทึก + RA ในช่อง 5 SCT000 FEW020 BKN080 OVC280 ในช่อง 3 8 ในช่อง 21
13
11. ผลต่างของค่าอุณหภูมิกับอุณหภูมิจุดน้ำค้างที่นำมาหาค่าความสูงของเมฆนั้น ใช้ได้กับเมฆก่อตัวในทางตั้งเท่านั้น ( สภาพของท้องฟ้า หน้า 81 ) 12. หนังสือตรวจอากาศเล่มใหม่ ยกเลิกค่าความเร็วลมมีหน่วยเป็นกิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่ทางอุตุพลเรีอนยังคงใช้อยู่
14
ลำดับการรายงานในช่อง 13 ฉบับ AF MANUAL 15-111 27 FEB 2013 1. MT AUGUSTINE VOLCANO 70 MILES SW ERUPTED 231505 LARGE ASH CLOUDEXTENDING TO APRX 30,000 FT MOV NE 2. TORNADO B13 6NE MON NE, FUNNEL CLOUD 4S MOV UNKN, TORNADO DSNT E MOV N 3. A02 or A02A ASOS/AWOS (Augmented or Automated System ) 4. PK WND 28045/15, PK WND 24042/43 25042/19 5. WSHFT 30, WSHFT 30 FROPA 6. TWR VIS 1 ½, TWR VIS 2400 7. VIS ½ V 2, VIS 0800V3200 8. VIS NE 2 ½, VIS NE 4000 9. VIS 2 ½ RWY 11, VIS 4000 RWY 11 ( Visibility at Second Location ) 10. OCNL LTGICCCCG OHD, LTG DSNT W 11. RAB05E30SNB20E55, SHRAB05E30SHSNB20E55 12. TSB0159E30
15
13. TS 8SE MOV NE 14. GR 1 ¾ 15. CIG 005V010 16. FG SCT000, FU BKN020 17. BKN014 V OVC 18. CBMAM OHD STNRY, CB 21W MOV S, CB DSNT W, TCU W,ACC NW 19. ACSL SW – W, APRNT ROTOR CLD NE, CCSL S 20. CIG 002 RWY 11 ( Ceiling Height at Second Location ) 21. PRESRR, PRESFR 22. SLP098, SLP NO 23. ACFT MSHP 24. SNINCR 2/10 ( Snow Increasing Rapidly ) 25. VIS LWR E CLD LYR AT 400 FT ON APCH RWY 23 RPRTD BY PIREP, CIG VIS LWR ON APCH RWY 14L WND DATA ESTMD, ALSTG/SLP ESTMD SHRA OVR MTNS N AURBO CONTRAILS FOG DISPERSAL, RAWINDSONDE DATA, STATE OF GROUND, WR// ( Other Significant Information )
16
26. P0009, P0000 ( Hourly Precipitation Amount ) 27. 6RRRR 60010 28. 7R24R24R24R24 70010 29. 4/SSS, 4/021 ( Snow Dept on Ground ) 30. TsnT’T’T’snT’dT’dT’d, T00261015 ( Hourly Temperature And Dewpoint ) 31. 1snTxTxTx 11021, 10142 ( 6-Hourly Maximum Temperature ) 32. 2snTnTnTn 21001, 20012 ( 6-Hourly Minimum Temperature ) 33. 4snTxTxTxsnTnTnTn 401001015 ( 24 Hourly Maximum and Minimum Temperature ) 34. 5appp 52032 ( 3-Hourly Pressure Tendency ) 35. RVRNO, PWINO, VISNO, CHINO RWY06 ( Sensor Status Indicators ) 36. AN/FMQ-19, ASOS ( Maintenance Indicator ) 37. LAST, FIRST, COR
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.