ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หนังสืออ้างอิง (Reference Book)
2
แนะแหล่งคำตอบ ให้คำตอบ บรรณานุกรม ดรรชนี พจนานุกรม สารานุกรม
หนังสืออ้างอิง แนะแหล่งคำตอบ บรรณานุกรม ดรรชนี ให้คำตอบ พจนานุกรม สารานุกรม หนังสือรายปี นามานุกรม อักขรานุกรมชีวประวัติ หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ หนังสือคู่มือ สิ่งพิมพ์รัฐบาล
3
กลุ่มที่ 1 หนังสืออ้างอิงที่แนะนำแหล่งคำตอบ
1.1 บรรณานุกรม (bibliographies) - รวบรวมรายชื่อสารสนเทศทั้งที่เป็นสิ่งตีพิมพ์และสิ่งไม่ตีพิมพ์ - เป็นเครื่องมือในการหาเอกสารและวัสดุที่ไม่ใช่สิ่งพิมพ์ - ให้ข้อมูลบรรณานุกรม (ชื่อผู้แต่ง, ชื่อหนังสือ, สถานที่พิมพ์, ปีที่พิมพ์) - บางเล่มมีบทคัดย่อ หรือบรรณนิทัศน์ประกอบ ทำให้สามารถเลือก หรือประเมินเอกสารได้
5
ตัวอย่างจากหนังสือบรรณานุกรมห้องสมุดมหาวิทยาลัย
6
ประเภทของบรรณานุกรม 1. หนังสือบรรณานุกรมแห่งชาติ (National Bibliographies) รวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศในประเทศหนึ่งๆ ที่มีเนื้อหาและภาษาเกี่ยวกับประเทศนั้น ผู้จัดทำ = หอสมุดแห่งชาติ เป็นเครื่องมือควบคุมบรรณานุกรมของประเทศ ช่วยในการค้นหารายชื่อทรัพยากรสารสนเทศเกี่ยวกับประเทศนั้น เช่น บรรณานุกรมแห่งชาติ NUC (National Union Catalog)
7
NUC (National Union Catalog)
9
ประเภทของบรรณานุกรม 2. บรรณานุกรมผู้แต่ง - ใช้ค้นงานเขียนของผู้แต่ง
เช่น บรรณานุกรมงานเขียน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช Arthur Ransome
10
ประเภทของบรรณานุกรม 3. บรรณานุกรมเฉพาะเรื่อง
- ใช้ค้นงานเขียนเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น บรรณานุกรมเลือกสรรเรื่องโรคเอดส์ บรรณานุกรมหนังสือหายาก Women of Iran A subject Bibliography
13
ประเภทของบรรณานุกรม 4. บรรณานุกรมจำกัดตามรูปแบบทรัพยากรสารสนเทศ
บรรณานุกรมค้นรายชื่อวารสาร บรรณานุกรมงานวิจัย บรรณานุกรมสิ่งพิมพ์รัฐบาล บรรณานุกรมโสตทัศนวัสดุ
14
กลุ่มที่ 1 หนังสืออ้างอิงที่แนะนำแหล่งคำตอบ
1.2 หนังสือดรรชนี (Indexes) - รวบรวมรายชื่อบทความในวารสาร, บทความในหนังสือพิมพ์ บทความในหนังสือ - ลักษณะข้อมูล ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรม เลขหน้า (บางครั้งอาจให้สาระสังเขปหรือเนื้อเรื่องด้วย) - จัดเรียงรายชื่อตามลำดับอักษรหัวเรื่องหรือผู้แต่งและมีดรรชนีช่วยค้น
15
ประเภทของหนังสือดรรชนี
ดรรชนีวารสาร ทำหน้าที่ รวบรวมรายการบทความในวารสาร - จัดทำขึ้นเพื่อใช้ค้นหาบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารชื่อต่าง ๆ - ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมของบทความในวารสารคือ (ชื่อผู้เขียนบทความ, ชื่อบทความ, ชื่อวารสาร,ปีที่,ฉบับที่,เดือน, พ.ศ.,เลขหน้า) บางครั้งอาจมี เนื้อหา หรือ สาระสังเขป - จัดเรียงรายการตามลำดับอักษรชื่อผู้เขียนบทความ & หัวเรื่อง คละกัน
16
ประเภทของดรรชนีวารสาร
ดรรชนีวารสารทั่วไป ดรรชนีวารสารเฉพาะวิชา ดรรชนีวารสารเฉพาะชื่อ
17
ดรรชนีวารสารทั่วไป (General Periodical Indexes)
รวมรายชื่อบทความวิชาการ & ทั่วไป ที่ตีพิมพ์ใน วารสารทั่วไปไม่จำกัดสาขาวิชา ประโยชน์คือ เป็นจุดเริ่มต้นในการค้นหาสารสนเทศใหม่ ๆ (ถ้าไม่รู้ว่าจะเริ่มหาจากดรรชนีวาสารชื่อเรื่องใด) เช่น Readers’ Guide to Periodical Literature OCLC FirstSearch Emeralds
18
การใช้ E-commerce ใน SME
23
ดรรชนีวารสารเฉพาะวิชา (Subject Indexes)
รวมรายชื่อบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเฉพาะสาขาวิชาและ สิ่งพิมพ์บางประเภท (เช่น รายงานการวิจัย หนังสือพิมพ์) ประโยชน์ = ค้นหาบทความในสาขาใดหนึ่ง / เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น Business Periodical Index, ERIC, ABI/INFORM
25
ดรรชนีวารสารเฉพาะชื่อ (Indexes to Single Magazines)
รวมรายชื่อบทความในวารสารชื่อใดชื่อหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ดรรชนีวารสารNational Geographic ประโยชน์ คือ ใช้ค้นหาบทความในวารสารชื่อใดหนึ่งโดยเฉพาะ
26
ดรรชนีหนังสือพิมพ์ (Newspaper Indexes)
จัดทำขึ้นเพื่อค้นหาบทความ/ข่าว ในหนังสือพิมพ์ชื่อต่างๆ ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมคือ ชื่อผู้เขียนบทความ (ถ้ามี) ชื่อบทความ/ข่าว ชื่อหนังสือพิมพ์ วันเดือนปี เลขหน้า (+Full-text) จัดเรียงรายการเช่นเดียวกับดรรชนีวารสาร เช่น The New York Times Index NEWSCenter
30
กลุ่มที่ 2 หนังสืออ้างอิงที่ให้คำตอบ / ให้ข้อเท็จจริง
1. พจนานุกรม 2. สารานุกรม 3. หนังสือรายปี 4. นามานุกรม 5. อักขรานุกรมชีวประวัติ 6. หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ 7. หนังสือคู่มือ 8. สิ่งพิมพ์รัฐบาล
31
พจนานุกรม (Dictionary)
ใช้ค้นหาข้อมูลด้านต่างๆ เกี่ยวกับคำ / คำศัพท์ ในด้านต่างๆ การสะกดคำ การออกเสียง จำนวนพยางค์/การแบ่ง ชนิดของคำ ความหมาย (คำ วลี สำนวน สแลง ฯลฯ) วิธีการใช้คำ + ตัวอย่างประกอบ (ที่มาของของตัวอย่าง) จัดเรียงคำศัพท์ตามลำดับอักษร ประวัติที่มาของคำ คำเหมือน (Synonym) คำตรงข้าม (Antonym) คำย่อ (Abbreviation) คำสแลง (Slang) คำภาษาถิ่น (Dialect)
32
ประเภทของพจนานุกรม 1. พจนานุกรมภาษา (General Language Dictionaries)
2. พจนานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Dictionaries) 3. พจนานุกรมจัดขึ้นตามวัตถุประสงค์พิเศษ (คำเฉพาะประเภท/ เฉพาะด้าน ) (Specialized Dictionaries)
33
พจนานุกรมภาษา (General Language Dictionaries)
พจนานุกรมสองภาษา (Bilingual Dictionaries) พจนานุกรมหลายภาษา (Polyglot Dictionaries)
34
2 . พจนานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Dictionaries)
รวมคำศัพท์เฉพาะในสาขาใดหนึ่ง เน้นการให้ความหมาย.
35
ใช้ค้นหาคำในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น เช่น คำเต็ม อสมท.
3. พจนานุกรมจัดทำขึ้นตามวัตถุประสงค์พิเศษ (คำเฉพาะประเภท/ เฉพาะด้าน) (Specialized Dictionaries) ใช้ค้นหาคำในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น เช่น คำเต็ม อสมท. ความหมายของสำนวนภาษา Good Job 3.1 พจนานุกรมอักษรย่อ (Abbreviation Dictionaries) 3.2 พจนานุกรมคำพ้องคำตรงข้าม (Synonyms & Antonyms Dictionaries) 3.3 พจนานุกรมภาษาถิ่น (Dialect Dictionaries) 3.4 พจนานุกรมนิรุกติศาสตร์ (Etymological Dictionaries) 3.5 พจนานุกรมคำอ่าน (Pronouncing Dictionaries) 3.6 พจนานุกรมสำนวน (Idiom Dictionaries) 3.7 พจนานุกรมสแลง (Slang Dictionaries) 3.8 พจนานุกรมการใช้คำในภาษา (Usage Dictionaries)
42
สารานุกรม ให้ ความรู้ & สารสนเทศทั่วไป / เชิงวิชาการอย่างกว้างขวางทุกเรื่อง / ทุกสาขาวิชา สารานุกรมทั่วไป เช่น สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน สารานุกรมเฉพาะสาขาวิชา เช่น สารานุกรมเพลงไทย
45
วิธีการสืบค้นข้อมูลจากสารานุกรม
Reference Books ใช้ index / ส่วนโยงเปิดตามหัวข้อเรื่องที่ต้องการ Databases /Internet ใช้ คำสำคัญ, คลังคำ, หัวข้อเรื่อง Search Browse
50
หนังสือรายปี (Yearbooks, Almanac, Annuals)
* มีกำหนดออกเป็นรายปี * ให้สารสนเทศใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา เป็นข้อเท็จจริง สถิติ ข่าวสารความเคลื่อนไหว แนวโน้มในสาขาวิชา ประเทศ องค์กร/ หน่วยงาน * จัดเรียงตามเรื่องที่กำหนดขึ้นโดยผู้จัดทำ เช่น ตามลำดับกิจกรรม
51
หนังสือรายปี รายงานประจำปี (Yearbooks) สมพัตรสร (Almanacs)
หนังสือรายปีของสารานุกรมชุดต่างๆ (Annuals/ Books of the year)
52
รายงานประจำปี Yearbooks
เป็นรายงานประจำปีของหน่วยงานต่างๆ (รัฐบาล เอกชน องค์การ) ตัวอย่าง รายงานประจำปีศูนย์สารสนเทศสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
53
สมพัตสร (Almanacs) * ให้ข้อเท็จจริง (เบ็ดเตล็ดหลายๆ ด้าน) อย่างสั้นๆ เช่น ตัวเลข สถิติต่างๆในรอบปีที่ผ่านมา ข้อเท็จจริง สถิติย้อนหลังหลายๆ ปี เช่น สยามจดหมายเหตุ สยามออลมาแนค (ให้ความรู้ต่างๆที่ควรทราบเน้นเกี่ยวกับประเทศไทย แบ่งออกเป็น 25 ตอน เช่น เหตุการณ์สำคัญ ปฏิทินและวันสำคัญ ภาษี ศาสนา เศรษฐกิจ)
55
ตัวอย่างคำถามที่ใช้สมพัตสรตอบ:
- สถิติการส่งออกอัญมณีของประเทศต่างๆ ย้อนหลัง 5 ปี - จำนวนประชากรโลกใหม่ล่าสุดที่มี - ใครได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปีปัจจุบัน
56
ความเหมือน & ความแตกต่างของ Yearbooks กับ Almanacs
ความเหมือน: มุ่งเสนอสารสนเทศใหม่ๆ ในรอบปีที่ผ่านมา (บุคคล เหตุการณ์ ความก้าวหน้าของวิทยาการ & เรื่องต่างๆ ในสังคม) หนังสือรายงานประจำปี สมพัตสร ให้สารสนเทศเฉพาะปีที่ผ่านมา สารสนเทศย้อนหลังหลาย ๆ ปี มุ่งเน้นความรู้สาขาใดหนึ่ง/ประเทศ หรือองค์กรใดหนึ่งให้ข้อมูลเชิงวิชาการ ให้ข้อเท็จจริงสั้นๆ & สถิติมากมายหลายด้าน ---> เชิงเบ็ดเตล็ด.
57
ลักษณะสำคัญ ของ Yearbooks และ Almanacs:
1. จุดมุ่งหมายการจัดทำ * ให้สารสนเทศใหม่ ๆ ในรอบปีผ่านมา * ใช้เสริมเนื้อหาสารานุกรม ฯลฯ ให้ทันสมัย * ให้ข้อเท็จจริงสั้นๆ (สมพัตสร) ให้รายละเอียดพอสมควร (หนังสือรายปี) * แสดงแนวโน้มเรื่องราวต่าง ๆ * ให้ข้อมูลเชิงทำเนียบนาม (สมพัตสร) ชีวประวัติบุคคล (หนังสือรายปี) 2. ระยะเวลาในการจัดทำ รายปี รายสัปดาห์ ---> รายปี ทุกวัน/ ทุกนาที
58
3. ผู้จัดทำ มี 4 กลุ่ม 3.1 สำนักพิมพ์ที่จัดทำสารานุกรม “หนังสือรายปีของสารานุกรม” Americana Annual 3.2 สำนักพิมพ์ทั่วไป “สมพัตสร” Information Please Almanac 3.3 หน่วยราชการ/ เอกชน “หนังสือรายปีที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประเทศ -- องค์กรระหว่าง ประเทศ” สมุดสถิติรายปีประเทศไทย Europa Yearbook 3.4 หน่วยราชการ องค์กร สถาบัน สมาคมต่างๆ “รายงานประจำปี” รายงานประจำปี 2547 กระทรวงพาณิชย์ /ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด
59
4. การจัดเรียงเนื้อหา 4.1 หัวข้อวิชา มีดรรชนีช่วยค้น (สมพัตสร) 4.2 ตามลำดับอักษรชื่อประเทศ มีดรรชนีช่วยค้น (หนังสือรายปี) 4.3 ตามลำดับอักษรเรื่อง (หนังสือรายปีของสารานุกรม).
60
หนังสือรายปีของสารานุกรมชุดต่างๆ (Annuals, Books of the year)
หนังสือรายปีของสารานุกรมชุดต่างๆ เพื่อเพิ่มข้อมูลใหม่ๆ สำหรับสารานุกรมที่เป็นหนังสือชุด เช่น Britannica Book of the year. Chicago : Encyclopedia Britannica Inc., 1938. เป็นหนังสือเสริมของ Encyclopedia Britannica.
61
นามานุกรม ทำเนียบนาม นามสงเคราะห์ (Directories)
* ให้รายชื่อ + ที่อยู่ + รายละเอียดอื่นๆ 1. บุคคล = ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่งงาน (+ คุณวุฒิ ประสบการณ์) ที่อยู่ + เบอร์โทรศัพท์ + Address คือ ทำเนียบนามบุคคล 2. หน่วยงาน/องค์กร = ชื่อหน่วยงาน สถานที่ตั้ง เบอร์โทรศัพท์ เบอร์โทรสาร Address รายละเอียดอื่นๆ (ชื่อผู้บริหาร สูงสุด คณะกรรมการบริหาร หน้าที่ & วัตถุประสงค์การดำเนินงาน ประเภทกิจการ ประเภท สินค้า & บริการ ฯลฯ) คือ ทำเนียบนามสถาบัน * จัดเรียงเนื้อหา: ) ตามลำดับอักษร ) ตามหมวดหมู่.
63
ประเภทนามานุกรม หรือ ทำเนียบนาม
1. นามานุกรมชื่อทั่วไป เช่น Guinness Book of the names , สมุดโทรศัพท์, ทำเนียบผู้ทรงคุณวุฒิในประเทศไทย 2. นามานุกรมชื่อหน่วยงาน องค์การ เว็บไซต์ เช่น นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย World Wide Government Directory 3. นามานุกรมชื่อบุคคล เช่น ทำเนียบนักวิจัย , ทำเนียบสตรีดีเด่น
64
ประโยชน์: 1. ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ โทรสาร Address ที่จะติดต่อกับบุคคล หรือ หน่วยงาน 2. สารสนเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน เช่น ทำเนียบนามคอมพิวเตอร์ = ประเภทสินค้า บริการ ทำเนียบนามพิพิธภัณฑ์ = ประวัติ เวลาเปิดทำการ ค่าธรรมเนียมเข้าชม สิ่งที่รวบรวมไว้ 3. ชื่อเต็มของบุคคล หน่วยงาน 4. ตรวจสอบข้อมูลปัจจุบันของบุคคล โดยเฉพาะตำแหน่งงานปัจจุบัน สรุป เป็นทรัพยากรสารสนเทศ ที่ช่วยในการติดต่อสื่อสารด้านต่างๆ กับ บุคคล & หน่วยงานต่างๆ
65
อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionaries)
* หนังสือรวบรวมประวัติบุคคลสำคัญหลายคนไว้ในชื่อเรื่องเดียวกัน บุคคลที่ทำคุณประโยชน์ต่อสังคมด้านต่างๆ เช่น ผู้นำประเทศ/ทหาร/ศาสนา นักวิทยาศาสตร์ นักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ บุคคลในสังคมชั้นสูง เช่น กษัตริย์ ราชินี พระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง ฯลฯ * รายละเอียด: ปีเกิด-ปีตาย สถานที่เกิด การศึกษา สถานภาพการสมรส อาชีพ ผลงานดีเด่น หน้าที่การงาน ที่อยู่ปัจจุบัน ปรัชญาการทำงาน-การดำเนินชีวิต งานอดิเรก ฯลฯ
66
ประโยชน์ * จัดเรียงเนื้อหา: ตามลำดับอักษรชื่อเจ้าของชีวประวัติ (ชาวไทย ---- ชาวต่างชาติ) * ประโยชน์: ใช้ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับประวัติบุคคลสำคัญ เช่น วันเดือนปีเกิด-ตาย วุฒิการศึกษา ผลงาน ความเชี่ยวชาญ
67
ประเภทอักขรานุกรมชีวประวัติ:
1. Universal Biograhical Dictionaries อักขรานุกรมชีวประวัติบุคคลทั่วโลก * รวมชีวประวัติบุคคลสำคัญทุกวงการทั่วโลก ไม่จำกัด? * ประโยชน์: เป็นแหล่งข้อมูลบุคคลสำคัญทั่วโลก & ใช้เป็นแหล่งแรก 1.1 Current Biograhical Dictionaries (มีชีวิตอยู่) เช่น Current Biography, The International Who’s Who 1.2 Retrospective Biograhical Dictionaries (เสียชีวิตแล้ว) เช่น Chambers Biograhical Dictionaries เป็นต้น 1.3 ทั้งสองแบบรวมกัน เช่น Webster’s Biographical Dictionaries, Biography.com
68
ประเภทอักขรานุกรมชีวประวัติ:
2. National/ Regional Biograhical Dictionaries อักขรานุกรมชีวประวัติบุคคลในชาติ/ภูมิภาคใดหนึ่ง * รวบรวมชีวประวัติบุคคลที่อยู่ใน ? ไม่จำกัด ? ประโยชน์? 2.1 มีชีวิตอยู่ เช่น Who’s Who in America 2.2 เสียชีวิตแล้ว เช่น Who was Who in America.
69
ประเภทอักขรานุกรมชีวประวัติ:
3. Professional/ Occupational Biographical Dictionaries * รวมประวัติบุคคลเฉพาะสาขาอาชีพ เช่น Contemporary Authors เป็นต้น
74
หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Geographical Sources)
คือ หนังสืออ้างอิงที่ให้รายละเอียดทางภูมิศาสตร์ * ใช้ค้นหา - เรื่องราวทางภูมิศาสตร์ - ชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์ (ตามธรรมชาติ, มนุษย์สร้างขึ้น) * ลักษณะรายละเอียด: - ลักษณะทางกายภาพ สภาพภูมิประเทศ อาณาเขต - ตำแหน่งที่ตั้ง (ละติจูด-ลองติจูด) - ประวัติความเป็นมา ประวัติทางเศรษฐกิจ & สังคม - ทรัพยากรธรรมชาติ การประกอบอาชีพ เส้นทางคมนาคม - สถานที่ท่องเที่ยว ประเพณีสำคัญๆ สภาพภูมิอากาศ/ ประเทศ - ข้อมูลที่พัก ร้านอาหาร ฯลฯ
75
ประเภท: 1. อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ (Gazetteers)
2. หนังสือนำเที่ยว (Guidebooks) 3. หนังสือแผนที่ (Atlases)
76
อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ (Gazetteers)
รายละเอียดพอสังเขปของชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วโลก Ex. - หอไอเฟลอยู่ที่ประเทศใด สูงเท่าใด ประวัติความเป็นมา - ความยาวของแม่น้ำไนล์ - สภาพภูมิประเทศ & การประกอบอาชีพของชาวไทยภูเขา ฯลฯ
77
หนังสือแผนที่ (Atlases)
ตำแหน่งที่ตั้ง ลักษณะทางกายภาพส่วนต่างๆ เส้นทางการเดินทาง รูปร่างลักษณะ ทรัพยากรธรรมชาติ สภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศ ชุมชนเศรษฐกิจ Ex. - ที่ตั้ง & สภาพภูมิประเทศของประเทศ Zimbagway - เส้นทางการเดินทางจากกรุงเทพ --> เชียงใหม่ (ผ่านจังหวัดใด) - รูปร่างของทะเลดำ - เส้นทางการไหลของแม่น้ำไนล์ - ศูนย์การค้าของจังหวัดเชียงใหม่
78
หนังสือนำเที่ยว (Guidebooks)
3. ข้อมูล/ รายละเอียดเกี่ยวกับ เมือง/ ประเทศต่างๆ โดยเฉพาะข้อมูลที่ มีประโยชน์ต่อการท่องเที่ยว Ex. - โบราณสถาน & โบราณวัตถุในจังหวัดอยุธยา - ประเพณีของชาวม้ง - สภาพภูมิอากาศ & สถานที่ท่องเที่ยวประเทศอิตาลี - ระยะทางจากกรุงเทพ ----> เชียงใหม่ (ข้อมูลตัวเลข) - โรงแรม ร้านอาหาร ย่าน Shopping
80
1. อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ (Gazetteers)
* ให้สารสนเทศพอสังเขปของชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์ในโลก * รายละเอียด: สถานที่ตั้ง ลักษณะ ประวัติย่อ สภาพภูมิอากาศ/ ประเทศ พื้นฐานทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ ฯลฯ (แตกต่างไปตาม ลักษณะของ ชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์) * จัดเรียงตามลำดับอักษรของชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์ (ก-ฮ A-Z) เช่น อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ
81
2. หนังสือนำเที่ยว (Guidebooks)
* ให้สารสนเทศที่มีประโยชน์ต่อการเดินทาง ท่องเที่ยว/ อาศัยในที่แห่งหนึ่ง * รายละเอียด: เส้นทางการเดินทาง ระยะทาง ที่ตั้ง ลักษณะภูมิอากาศ ที่พัก ร้านอาหาร ย่านธุรกิจ/ Shopping สถานที่ท่องเที่ยว * จัดเรียงเนื้อหา ตาม Geographical Arrangement เช่น ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว & สิ่งอำนวยความ สะดวกทางการท่องเที่ยว.
82
3. หนังสือแผนที่ (Atlases)
หนังสือที่รวบรวมแผนที่หลายๆ แผ่น เป็นแผนที่ประเภทเดียวกัน หรือ หลายประเภท แบ่งเป็น ประเภท 1.1 หนังสือแผนที่ทั่วไป / แผนที่โลก รวมแผนที่ประเทศต่างๆ (แผนที่กายภาพ) + แผนที่รัฐกิจ เช่น The Times Atlas of the World 1.2 หนังสือแผนที่เฉพาะด้าน จัดทำขึ้นเพื่อจุดมุ่งหมายใดหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น แผนที่แสดงเส้นทางคมนาคม แผนที่ดาว แผนที่ประวัติศาสตร์ The Times Atlas of the World History
83
3. หนังสือแผนที่ 3.1 ความน่าเชื่อถือ คณะผู้จัดทำ สำนักพิมพ์ 3.2 ขอบเขต กว้าง/ แคบ ครอบคลุม (ดูเป้าหมายว่าเป็นแผนที่โลก หรือ แผนที่เฉพาะด้าน) 3.3 ความทันสมัย เช่น ถนน ทางรถไฟ ฯลฯ 3.4 ดรรชนี จำเป็นต้องมี ตรวจสอบ (ดรรชนี--ละเอียด/ แต่ละแผ่น หรือ ท้ายเล่ม ให้คำอ่านชื่อยาก บอกตำแหน่งถูกต้องชัดเจน) 3.3 คุณภาพแผนที่ ตรวจสอบ - ใช้ชื่อทางการ - มาตราส่วนเหมาะสม ชัดเจน ถ่ายทอดรายละเอียดตามจริง - Projection (รายละเอียดของสภาพพื้นที่) เหมาะสม ผิดเพี้ยนน้อยที่สุด สอดคล้องกับมาตราส่วนที่ใช้ - ใช้สีแทนลักษณะทางภูมิศาสตร์ได้เหมาะสม & แสดงความแตกต่างได้ - มีตารางอธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้ในแผนที่ เช่น ถนน ภูเขา สนามบิน ...
84
หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals)
* รวบรวมสารสนเทศ ความรู้เบ็ดเตล็ดในด้านใดด้านหนึ่ง / สาขาใดสาขาหนึ่ง * ใช้ตอบคำถามทันที * ให้วิธีการทำสิ่งนั้น /ให้คำแนะนำทางปฏิบัติ ---> ไปใช้ประโยชน์ได้
85
หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals)
* ลักษณะเนื้อหาหลากหลาย - รวมความรู้เบ็ดเตล็ดเฉพาะด้าน เพื่อสนองความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์ เช่น Guinness World Records สิ่งแรกในเมืองไทย - ให้ความรู้ในสาขาวิชาเฉพาะ เป็นกฎหลักสำคัญ ---> ใช้ได้เลย เช่น MLA Handbook for Writers of Research Papers - ให้คำแนะนำในทางปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงาน เช่น คู่มือการสะสมแสตมป์ คู่มือตกแต่งป้ายนิเทศด้วยกระดาษ
86
ประโยชน์ ของ หนังสือคู่มือ:
1. ค้นหาสารสนเทศเฉพาะเรื่องได้สะดวก & รวดเร็ว เช่น รถคันยาวที่สุดในโลกยี่ห้ออะไร 2. ให้ความรู้ที่เป็นหลักสำคัญในวิชาเฉพาะ & นำไปใช้ได้เลย เช่น วิธีการเขียนบรรณานุกรม 3. เป็นคู่มือการปฏิบัติงานด้านใดด้านหนึ่ง เช่น คู่มือตกแต่งป้ายนิเทศด้วยกระดาษ
87
2.8 สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication)
หนังสือ เอกสาร ที่หน่วยงานรัฐบาลจัดทำเพื่อเป็นหลักฐานทางราชการ แสดงผลงานที่ได้ปฏิบัติไปแล้ว แสดงถึงความก้าวหน้าของหน่วยงาน แขนงวิชาที่หน่วยงานเกี่ยวข้อง หนังสือ เอกสารอื่นๆที่พิมพ์โดยกระทรวง ทบวง กรม
88
ตัวอย่างเช่น ราชกิจจานุเบกษา
วารสารตีพิมพ์กฎหมายที่รัฐบาลประกาศใช้ เช่น พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา ประกาศ กฎกระทรวง รายงานประจำปี รายงานประจำปีของหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ เช่น รายงานรายรับรายจ่ายของแผ่นดิน รายงานประจำปีกระทรวงมหาดไทย
89
หนังสือธรรมดาที่จัดเป็นหนังสืออ้างอิง (Borderline book)
สามารถจัดเป็นหนังสือทั่วไปหรือหนังสืออ้างอิงก็ได้ เช่น ประชุมพงศาวดารหรือพงศาวดาร หนังสือเกี่ยวกับลัทธิธรรมเนียมต่างๆ สาส์นสมเด็จ หนังสือเกี่ยวกับพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ พระบรมราโชวาท
90
จงเลือกข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน
ราชกิจจานุเบกษา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน สารานุกรม นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย เล่ม 18 กกธูป ดูที่ กกช้าง หน้า 30 ตั้งแต่ขนทราย – ขนาน เจาะริมซ้ายของหนังสือช่วยสืบค้น Siam Chronicle 1981 Encyclopedia Americana
91
จงเลือกข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน
เรื่องราวเกี่ยวกับเรือ ความหมายของคำว่าชลมารค พระราชบัญญัติการกำหนดเขตทางหลวง นามานุกรมขุนช้างขุนแผน ข้อมูลเกี่ยวกับจังหวัดเชียงใหม่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช แต่งหนังสือชื่ออะไรบ้าง มีใครเขียนบทความใหม่ๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ World Almanac and Book of Facts 1998 Siam Directory World Gazetteer
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.