ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
MS.Pantharee Sawasdimongkol
รู้จักกับ PHP MS.Pantharee Sawasdimongkol
2
เนื้อหา ประวัติของ PHP PHP คืออะไร ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม
Language Reference ข้อแตกต่างของ PHP กับ ASP PHP Programming
3
ประวัติ PHP PHP ย่อมาจาก Professional Home Page
เริ่มสร้างขึ้นในกลางปี 1994 ผู้พัฒนาคือ นาย Rasmus Lerdorf ปัจจุบัน PHP มีการพัฒนามาเป็นรุ่นที่ 5 Version แรกเป็นที่รู้จักในชื่อว่า Personal Homepage Tools ในปี 1994 ถึงกลางปี1995 Version ที่สองชื่อว่า PHP/FI ในกลางปี 1995 Version 3 เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า PHP3 เริ่มใช้กลางปี 1997 Version 4 ถ้าเป็น commercial ใช้ชื่อว่า Zend (Zend ย่อมาจาก Ze(ev) + (A)nd(I Gutmans) Version 5 เป็น Stablee Version ล่าสุด PHP Programming
4
PHP คืออะไร เป็นภาษา Script สำหรับแสดงเว็บเพจอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในกลุ่ม Server Side Script เช่นเดียวกับ ASP การทำงานจะแทรกอยู่ในเอกสาร HTML สามารถ Compile ได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ UNIX, Windows NT/2000/XP, Windows 9x ความสามารถในการทำงานสูง โดยเฉพาะกับการติดต่อกับ Database เช่น MySQL, msSQL, Sybase และ PostgreSQL เป็นต้น PHP Programming
5
สิ่งที่ PHP สามารถทำได้
CGI Database-enable web page Database Adabas D InterBase Solid DBase mSQL Sybase Empress MySQL Velocis FilePro Oracle Unix dbm Informix PostgreSQL PHP Programming
6
ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม
Open source No cost implementation – PHP เป็นของฟรี Server side Crossable Platform HTML embedded Simple language Efficiency XML parsing Database module File I/O Text processing Image processing PHP Programming
7
การทำงานของ PHP ทำงานบน Server ทำงานร่วมกับเอกสาร HTML
สามารถแทรกคำสั่ง PHP ได้ตามที่ต้องการลงในเอกสาร HTML ทำงานในส่วนที่เป็นคำสั่งของ PHP ก่อน เมื่อมีการเรียกใช้เอกสารนั้น ๆ แสดงผลออกทาง Web Browsers PHP Programming
8
โครงสร้างภาษา PHP แบบที่ 1 XML style <?php คำสั่งภาษา PHP ?>
ตัวอย่าง <?php echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?> PHP Programming
9
โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ)
แบบที่ 2 SGML style <? คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <? echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?> PHP Programming
10
โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ)
แบบที่ 3 Java Language style <script language=“php”> คำสั่งภาษา PHP </script> ตัวอย่าง echo “Hello World”; PHP Programming
11
โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ)
แบบที่ 4 ASP Style <% คำสั่งภาษา PHP %> ตัวอย่าง <% echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; %> PHP Programming
12
โครงสร้างของภาษา PHP (ต่อ)
แบบที่เป็นที่นิยม คือ แบบที่ 1 ผลที่ได้เมื่อผ่านการทำงานแล้วจะได้ผลดังนี้ Hello World ! I am PHP ข้อสังเกต - รูปแบบคล้ายกับภาษา C และ Perl - ใช้เครื่องหมาย ( ; ) คั่นระหว่างคำสั่งแต่ละคำสั่ง File ที่ได้ต้อง save เป็นนามสกุล php PHP Programming
13
Language Reference Comments
- เหมือนกับการ Comment ของภาษา C, C++ และ Unix ตัวอย่าง <?php echo “Hello !”; // การ comment แบบ 1 บรรทัด /* แบบหลายบรรทัดตั้งแต่ 2 บรรทัดขึ้นไป */ echo “World”; # การ comment แบบ shell-style ?> PHP Programming
14
หลักการเขียนโปรแกรม php
พื้นฐานเหมือนกับภาษา C ใช้พื้นที่ว่างได้ โดยการเว้นบรรทัดในขณะที่ยังเขียนคำสั่งต่างๆ ไม่จบ ประโยคสามารถทำได้ Case-Sensitive บางกรณี คือ ตัวเล็ก-ตัวใหญ่มีความแตกต่างกันในการ อ้างอิงตัวแปร แต่ถ้าเป็นการใช้คำสั่ง เช่น if ก็จะเหมือนกับ IF หรือ function อย่างเช่น empty() อาจจะเขียนเป็น Empty() ก็ได้ ปิดคำสั่งทุกประโยคด้วย ; PHP Programming
15
คำสั่ง echo เป็นคำสั่งสำหรับแสดงผลลัพธ์ไปที่โปรแกรม browser รูปแบบ
ข้อความ เขียนภายใต้เครื่องหมาย double quote (“ “) หรือ single quote (‘ ‘) ตัวแปรของภาษา PHP จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ เสมอ คล้ายกับภาษา Perl PHP Programming
16
ตัวอย่างที่ 1 intro.php <HTML> <HEAD> <TITLE>Example –1</TITLE> </HEAD> <BODY> <?php phpinfo() ; ?> </HTML> *** ทำการ สร้าง Folder ชื่อ PHP_Demo ไว้ใน c:\Appserv\www\ และเก็บ File นี้ไว้ใน Folder ดังกล่าว PHP Programming
17
การเรียกใช้งาน เปิดโปรแกรม browser พิมพ์ url
PHP Programming
18
ตัวอย่างที่ 2 (date.php)
<HTML> <HEAD> <TITLE> Example –2</TITLE> </HEAD> <BODY> Today’s Date: <? print(Date("l F d, Y")); ?> </BODY> </HTML> Today's Date: Monday November 3, 2009 PHP Programming
19
ตัวอย่างที่ 3 (Sample1.php)
<? echo"Hello Word <br>"; echo"Hello PHP Programming"; ?> บันทึกไฟล์เป็น Sample1.php PHP Programming
20
การเชื่อมต่อข้อความหรือตัวแปร
ใช้เครื่องหมาย . (จุด) หรือ, (ลูกน้ำ) เช่น echo “ปัณฑรีย์ ”. “สวัสดิมงคล”; หรือ echo “ปัณฑรีย์ ”, “สวัสดิมงคล”; ผลลัพธ์ ปัณฑรีย์ สวัสดิมงคล PHP Programming
21
การขึ้นบรรทัดใหม่ ใช้ Tag เหมือนกับ HTML Tag คือ “<br>” (Tag br ) เช่น echo “ปัณฑรีย์<br>บุ๋ม”; หรือ echo “ปัณฑรีย์”,“<br>”.“บุ๋ม”; ผลลัพธ์ ปัณฑรีย์ บุ๋ม PHP Programming
22
การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
<font>……..</font> (Tag font) เช่น echo “<font color=‘red’ size=20 face=‘JasmineUPC’>ปัณฑรีย์</font>”; สี ขนาด แบบ ผลลัพธ์ ปัณฑรีย์
23
การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
ตัวหนา <b>………….</b> ตัวเอียง <i>…………..</i> ตัวขีดเส้นใต้ <u>………….</u> เช่น echo “<b><i><u>ปัณฑรีย์</u></i></b>”; ผลลัพธ์ ปัณฑรีย์
24
คำสั่ง Print print("ข้อความที่ต้องการแสดง"); คำสั่ง print จะทำงานเหมือนกับคำสั่ง echo แต่คำสั่ง print นั้นสามารถแสดงค่าได้ครั้งหนึ่งค่าเท่านั้น ในขณะที่คำสั่ง echo สามารถแสดงค่าได้หลาย ๆ ค่า <? print"Hello Word"; print"<br>"; print"Hello PHP Programming"; ?> บันทึกไฟล์เป็น Sample2.php PHP Programming
25
คำสั่ง Printf Printf(String format,…); คำสั่ง Printf จะทำงานเหมือนกับคำสั่ง echo และ print เพื่อส่งข้อมูลไปแสดงที่Brownser แต่คำสั่ง Printf นั้นสามารถที่จะกำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลได้ด้วย เหมือนกับภาษา C PHP Programming
26
ไฟล์ Sample3.php <? $name=‘Pantharee Sawasdimongkol’; $old=21; $salary= ; $key=165; printf("ชื่อ %s ",$name); printf("<br>อายุ %d ",$old); printf("<br>เงินเดือน %.2f ",$salary); printf("<br>Character ของ key คือ %c ",$key); ?> PHP Programming
27
สัญลักษณ์ในฟังก์ชั่น prinf();
%d เลขฐานสิบ %b เลขฐานสอง %c รหัส ASCII %f ทศนิยม %o เลขฐานแปด %s ตัวอักษร String %x , %X เลขฐานสิบหก PHP Programming
28
ผลลัพท์ที่ได้จากตัวอย่าง
ชื่อ อายุ 21 เงินเดือน Character 165 key คือ ฅ PHP Programming
29
$webmaster = “ปัณฑรีย์ สวัสดิมงคล" ;
<?php $name = “boom.com" ; $webmaster = “ปัณฑรีย์ สวัสดิมงคล" ; echo "ยินดีต้อนรับสู่เว็บ $name เว็บมาสเตอร์มีนามว่า $webmaster"; ?> ผลลัพท์จากตัวอย่าง ยินดีต้อนรับสู่เว็บ boom.com เว็บมาสเตอร์เขามีนามว่า ปัณฑรีย์ สวัสดิมงคล PHP Programming
30
Quiz (2 Points.) ให้นักศึกษาใช้คำสั่ง php เพื่อแสดงข้อความในรูปแบบของ AngsanaUPC ออกมาดังต่อไปนี้ ชื่อ ปัณฑรีย์ นามสกุล สวัสดิมงคล (สีดำ ตัวหนา ขนาด = 25) รหัสนักศึกษา (สีดำ ตัวหนา-เอียง ขนาด = 25) สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ (สีดำ ตัวหนา ขนาด = 25) ภาควิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ (สีดำ ตัวหนา ขนาด = 25) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี (สีดำ ตัวหนา ขนาด = 25) เบอร์โทร (รหัสสี “#740a9b” ตัวหนา-เอียง ขนาด = 25) (รหัสสี “#13707b” ตัวเอียง ขนาด = 25) หมายเหตุ (กำหนดรูปแบบและสีสันตามคำสั่ง Sava file : ชื่อ_ID.php เช่น pantharee_ php)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.