ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSupaporn Sangsorn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
แผนหลัก 2552-2554 สรุปทิศทาง
2
สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
3
ยุทธศาสตร์ตามแผนหลัก ยุทธศาสตร์ 1 พลัง ปัญญา พลัง นโยบาย พลัง สังคม สสส. 3 2
4
แผนหลักปัจจุบัน แผน 1 แผน 2 แผน 3 แผน 4แผน 5 แผน 6 แผน 7 1 : แผนควบคุมการบริโภคยาสูบ 2 : แผนควบคุมการบริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 3 : แผนสนับสนุนการป้องกันอุบัติเหตุจราจร และอุบัติภัย 4 : แผนส่งเสริมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อ สุขภาพ 5 : แผนควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ 6 : แผนการเรียนรู้เพื่อสุขภาวะ 7 : แผนสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กร 8 : แผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน 9 : แผนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพผ่าน ระบบบริการสุขภาพ 10 : แผนสนับสนุนโครงการทั่วไปและนวัตกรรม 11 : แผนสื่อสารการตลาดเพื่อสังคม 12 : แผนสร้างเสริมสุขภาวะในประชากรกลุ่ม เฉพาะ 13 : แผนพัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนเพื่อ การสร้างเสริมสุขภาพ
5
ทิศทาง ภาพรวม 3
6
ยกระดับความสำคัญ : –กลุ่มเด็กเยาวชนและครอบครัว –องค์กรท้องถิ่น/ชุมชน –ประชากรกลุ่มเฉพาะ/ขาดโอกาส มุ่งสร้างเสริมสุขภาวะทั้งสี่มิติให้มีความสมดุล ยิ่งขึ้น ยกระดับบูรณาการงานในพื้นที่ (จัดงบไว้ 10%) เปิดโอกาสให้ภาคีหลากหลายเข้าร่วมงาน ภาพรวม 4
7
ทิศทาง จำแนกตาม รายแผน (2552) 6
8
การควบคุมการบริโภคยาสูบและ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พัฒนาเป้าหมายร่วมของประเทศในระดับผลลัพธ์ - เช่น เป้าการลดอัตราผู้สูบบุหรี่/ ผู้ดื่มแอลกอฮอล์ ประจำใน 5 ปีข้างหน้า คงมาตรการเน้นหนักในกลุ่มเยาวชน ผู้มีเศรษฐานะ ต่ำ พื้นที่ชนบท พื้นที่เสี่ยง (เช่น ภาคใต้-ยาสูบ) สนับสนุน พรบ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้ มีผลบังคับใช้ ทั้งในระดับชาติ และจังหวัด ทั้ง โดยภาครัฐ และภาคประชาสังคม สร้างความเข้มแข็งให้กลไกระดับจังหวัดและ ท้องถิ่น ร่วมกับประเด็นสุขภาพอื่น พัฒนาสายด่วนเลิกบุหรี่แห่งชาติ ผลักดันสู่การออก กฎหมายให้พิมพ์หมายเลขลงบนซองบุหรี่ 01 7
9
แผนสนับสนุนการป้องกันอุบัติเหตุทาง ถนนและอุบัติภัย สนับสนุนพัฒนาและการดำเนินงานตาม แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน แห่งชาติ (2551-2556) ส่งเสริมความเข้มแข็งกลไกจังหวัดใน มาตรการ 5 Es อย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 70 จังหวัด โดยเป็นจังหวัดนวัตกรรมอย่าง น้อย 8 จังหวัด 03 9
10
แผนควบคุมปัจจัยเสี่ยงทาง สุขภาพ ประชาชน 2 ล้านคน ได้รับการฝึกทักษะ ควบคุมน้ำหนัก (คนไทยไร้พุงฯ) โรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก 3,000 แห่ง (ครอบคลุมนักเรียน 3 แสนคน) มีการ ดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพเพื่อควบคุม ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ สนับสนุน “นมแม่” “อาหารปลอดภัย” “โภชนาการ” “เด็กไทยไม่กินหวาน” ฯ 04 10
11
สุขภาวะประชากรกลุ่มเฉพาะ ผลักดันการบรรจุมาตรการคัดกรองความพิการทาง การได้ยินในทารกแรกเกิดให้อยู่ในสิทธิประโยชน์ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และ ขยายบริการฝึก Orientation & Motility สำหรับคนตาบอดปีละ 1,000 คน พัฒนาข้อเสนอนโยบายเรื่องระบบบำนาญแห่งชาติ สำหรับผู้สูงอายุ ครอบคลุมกลุ่มผู้สูงอายุในอนาคตซึ่ง ปัจจุบันยังไม่มีหลักประกันรายได้ในวัยหลังเกษียณกว่า 20 ล้านคน 05 11
12
สุขภาวะชุมชน ร้อยละ 25 ของตำบล (อปท.) หรือประมาณ 2000 องค์กร มีรูปธรรมการจัดการสุขภาวะ โดยชุมชนเองและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน (ใน 3 ปี) 06 12
13
สุขภาวะเด็ก เยาวชน และ ครอบครัว สนับสนุนกิจกรรมสร้างสรรค์และการพัฒนา เครือข่าย ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 200,000 คน สนับสนุนการสร้างและจัดการความรู้ ครอบคลุมเด็ก เยาวชนทุกกลุ่ม โดยเฉพาะ ในศูนย์เรียนรู้ในชุมชนหรือตำบล พัฒนาบทบาทของครอบครัวทุกมิติใน 1,000 ชุมชน 07 13
14
สุขภาวะในองค์กร สนับสนุนองค์กร (สถานประกอบการ สถาบันการศึกษา องค์กรรัฐ ศาสนสถาน) ให้เป็นต้นแบบในการมีนโยบายและกลไกที่ เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาวะ อย่างน้อย 500 แห่ง 08 14
15
การออกกำลังกายและกีฬาเพื่อ สุขภาพ ในสามปี จะเพิ่มอัตราการออกกำลังกายของ ประชากรที่อายุ 11 ปีขึ้นไปประมาณ 3 ล้าน คน มุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายเด็ก เยาวชน และ กลุ่มวัยทำงาน หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาสังคมใน พื้นที่มีส่วนร่วมกำหนดมาตรการและกิจกรรม และเป็นองค์กรต้นแบบ 09 15
16
การสื่อสารการตลาดเพื่อสังคม ร้อยละ 70 ของประชากรกลุ่มเป้าหมาย มี โอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสาร เกิดทัศนคติและ ค่านิยม ที่นำไปสู่พฤติกรรมสร้างเสริมสุข ภาวะ ให้ความสำคัญกับการผลิตสื่อต้นแบบที่ สร้างสรรค์ โดยเฉพาะต่อเด็กและเยาวชน พัฒนาช่องทางสื่อสารสุขภาพของภาคี สสส. ที่หลากหลายขึ้น สนับสนุนและผลักดันกลไกการสร้างสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์บนโลกออนไลน์ 10 16
17
20
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.