ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง 25 มีนาคม 2551
2
การเปลี่ยนแปลงของภาวะแวดล้อม
การปฏิรูปการเมือง การปฏิรูปการบริการสุขภาพ ความคาดหวังของผู้รับบริการ ความคาดหวังของเครือข่าย ความคาดหวังของข้าราชการ พนักงาน ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อจำกัดด้านทรัพยากร
3
เครือข่ายบริการสุขภาพ
นโยบายรัฐ : การมีสุขภาพดีถ้วนหน้า เครือข่ายบริการสุขภาพ หน่วยงานภายใน ภาคี เครือข่าย สถานพยาบาล ผู้ให้บริการ ร้องเรียน ประเมิน ความเห็น ข้อเสนอ ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ประสานงาน กำหนดมาตรฐาน ควบคุม กำกับ ดูแล ประชาชน (สิทธิ และหน้าที่) สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ
4
วิสัยทัศน์ : ประชาชนบรรลุสุขภาพที่ดี
ประชาชน ชุมชน ผู้ป่วย ผู้เสียภาษี ผู้ปฏิบัติตามกฎหมาย คู่ความร่วมมือ การรักษาพยาบาล ควบคุม ตรวจสอบ คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ป้องกันรักษา ร่วมมือ ประสิทธิผล การเข้าถึง ตามงบ ตามกฎหมาย ปกป้อง ดูแล ส่วนตัว กลุ่ม กระบวนการภายใน ปรับปรุงการรักษา ควบคุมค่าใช้จ่าย ปฏิบัติตามกฎหมาย รักษาสิ่งแวดล้อม ป้องกันร่วมมือกับชุมชน และเครือข่าย ด้านการเงิน การจัดหา จัดสรร และใช้จ่ายงบประมาณ การเรียนรู้และการเติบโต ระบบข้อมูล เทคโนโลยี ทรัพยากรบุคคล การจัดการความรู้องค์กร Balanced Scorecard ของหน่วยงานสาธารณะสุข
5
ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
รัฐบาล - บรรลุนโยบาย ใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผู้รับบริการ - การบริการที่มีคุณภาพ ภาคี เครือข่าย - การร่วมมือและการสนับสนุนระหว่างกัน ผู้เสียภาษี - การดำเนินการโดยรวมเป็นเลิศ ภาคธุรกิจ - กฎระเบียบชัดเจน น้อย โปร่งใส สื่อมวลชน - การสื่อสารที่ดี ความท้าทาย : ความสมดุลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
6
มุมมองด้านคุณค่าของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
คุณค่าต่ำ ไม่คุ้มค่า มุมมองด้านราคา คุณค่าเหมาะสม คุณค่าสูง คุ้มค่าเกินราคา มุมมองด้านคุณภาพ
7
ระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ชัดเจน และสื่อสารเป้าหมาย ของการให้บริการที่เป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ ผู้รับบริการ ประชาชน เทดโนโลยี ข้อมูล กฎระเบียบ ทรัพยากรต่างๆ ความรับผิดชอบ ของทุกคนในองค์กร ระบบงาน บุคลากร
8
ปรับแนวคิดเพื่อการบริการที่เป็นเลิศ
ยึดระเบียบ เป็นงานของหน่วยงานฉัน คนไม่พอ งบประมาณไม่มี ปรับระเบียบ ร่วมกับหน่วยงานอื่น ภาคธุรกิจ และชุมชน ทำงานเป็นทีม ปรับกระบวนการ
9
ความผูกพันของบุคลากรมีผลต่อประชาชน
ประโยชน์ต่อประชาชน การดำเนิน การที่เป็นเลิศ ความผูกพันของบุคลากร บรรยากาศที่ทำงาน ความผาสุก สุขภาพทางกายและใจ ความปลอดภัย และการสนับสนุนในการทำงาน การสรรหา และรักษาพนักงานที่ดี Source : Schmidt (2004)
10
การจัดการ ภาวะผู้นำ ความผูกพันของบุคลากร
ลักษณะงาน และสภาพการทำงาน ทัศนคติในงาน ผลลัพธ์ ปัจจัยส่วนบุคคล การจัดการ ภาวะผู้นำ การสื่อสาร ความผูกพันของบุคลากร
11
ระบบการบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม
การนำองค์กร - กำหนดค่านิยม นิยมในสิ่งที่กำหนด - กำหนดทิศทาง สื่อ ติดตาม และปรับปรุง การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - วางแผนครอบคลุม ทั้งผู้รับบริการ เครือข่าย - วางแผนเพื่ออนาคต อนาคตเริ่มวันนี้ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - จำแนกให้ชัดเจน ฟังให้ชัดแจ้ง - กระตุ้นให้ผู้รับบริการประเมินหน่วยงาน การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ - กระจายสารสนเทศให้มากและที่สุด - ใฝ่หาตัวอย่างความเป็นเลิศ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล - ช่วยให้คนดีเก่งขึ้น และผูกพันกับองค์กร - กระตุ้นให้มีความสำนึกรับผิดชอบ การจัดการกระบวนการ - สร้างกระบวนการเพื่อผู้รับบริการ - ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.