งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ด้านบริหาร แผนการเงินการคลัง แผนการบริหารกำลังคน - จริยธรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ด้านบริหาร แผนการเงินการคลัง แผนการบริหารกำลังคน - จริยธรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ด้านบริหาร แผนการเงินการคลัง แผนการบริหารกำลังคน - จริยธรรม
แผนบริหารระบบข้อมูล แผนการบริหารเวชภัณฑ์ แผนพัฒนาประสิทธิภาพการจัดซื้อจัดจ้าง การจัดการเรื่องร้องทุกข์

2 แผนการเงินการคลัง หน่วยบริการที่มีปัญหาทางการเงินในจังหวัดราชบุรี
โรงพยาบาลดำเนินสะดวก คะแนนวิกฤติอยู่ที่ 7 คะแนน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชจอมบึง และ โรงพยาบาลวัดเพลง คะแนนวิกฤติอยู่ที่ 4 คะแนน (ข้อมูลไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2556 จากกลุ่มงานประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข) โรงพยาบาลทุกแห่งมีการจัดทำต้นทุนบริการ ปี 2555 ครบทุกแห่ง และมีคะแนนคุณภาพผ่านทุกแห่ง ยกเว้น โรงพยาบาลราชบุรีที่ยังอยู่ระหว่างการตรวจสอบ

3 ผลการดำเนินงาน แผนการเงินการคลัง รอบ 3 เดือน ( ตค.-ธค. 56)
ผลการดำเนินงาน แผนการเงินการคลัง รอบ 3 เดือน ( ตค.-ธค. 56) ผลสำเร็จ / ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ / อัตรา มีการทำแผนประมาณการรายรับ ควบคุมรายจ่ายและมีการติดตามแผนทุกเดือน 10โรงพยาบาล 100 2. มีงบการเงินรวมของแม่ข่ายและลูกข่าย ในไตรมาสแรก ปี 2557 จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ คปสอ.ปากท่อ 1 แห่ง 3. หน่วยบริการมีคะแนนวิกฤติการเงิน ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 10 (รพ.ดำเนินสะดวก) ไม่เกิน 1แห่ง 10 4. ประสานหน่วยบริการทุกแห่งจัดทำต้นทุนริการปี ให้เสร็จสิ้นภายใน 31 มีนาคม 2557 อยู่ระหว่างการดำเนินการ

4 สรุปแผนการเงินการคลัง(แผนที่ 16)
มี 3 มาตรการ งบประมาณ เงิน สป. 20,800 บาท PPสนับสนุน 132,625 อื่นๆ(เงินบำรุงหน่วยบริการ) 104,640 รวม 258,065

5 แผนการบริหารกำลังคน - จริยธรรม
สถานการณ์ การขาดแคลนอัตรากำลังในระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ - สายงานแพทย์ ขาดแคลนในโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาล ทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน ยกเว้น โรงพยาบาลสวนผึ้ง - สายงานทันตแพทย์ ขาดแคลนในโรงพยาบาลวัดเพลง โรงพยาบาลบางแพ โรงพยาบาลสวนผึ้ง และโรงพยาบาลปากท่อ - สายงานเภสัชกร ขาดแคลนในโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาล ทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน ยกเว้นโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช จอมบึง โรงพยาบาลสวนผึ้ง และโรงพยาบาลเจ็ดเสมียน - สายงานพยาบาลวิชาชีพ ขาดแคลนในโรงพยาบาลศูนย์ การขาดแคลนอัตรากำลังในระดับปฐมภูมิ บุคลากร 4 วิชาชีพหลัก ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการสาธารณสุขและเจ้าพนักงานสาธารณสุข เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข และแพทย์แผนไทย ไม่ผ่านเกณฑ์สัดส่วนบุคลากรต่อประชากร

6 วิเคราะห์ปัญหา 1.การขาดแคลนอัตรากำลังในทุกระดับของหน่วยบริการ 2.การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ยังไม่ครอบคลุมทุกสาขาระบบบริการที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 3.ระบบฐานข้อมูลและกรอบอัตรากำลังบุคลากรไม่เชื่อมโยงและไม่เป็นปัจจุบัน 4.การกำหนดมาตรการการสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรปฏิบัติงานยังไม่เป็นรูปธรรม เป้าประสงค์/ ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1.มีระบบข้อมูลอัตรากำลังร่วมกันในระดับเครือข่ายบริการสุขภาพ (CUP) และระดับจังหวัด 2.มีแผนพัฒนาสมรรถนะตาม Service Plan ที่ครอบคลุม 3.มีระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลทั้งด้านการสรรหา บรรจุ แต่งตั้ง การสร้างแรงจูงใจ การธำรงรักษาบุคลากรไว้อย่างเป็นระบบตามนโยบาย มาตรการที่สำคัญ มาตรการที่ 1 จัดให้มีระบบฐานข้อมูล Online ระดับจังหวัดด้านกำลังคน มาตรการที่ 2 ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรร่วมกันในระดับจังหวัด มาตรการที่ 3 จัดให้มีการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7 จำนวนอัตรากำลังบุคลากรที่ขออนุมัติตามกรอบ FTE และขอขยายเกินกรอบ FTE จังหวัดราชบุรี
หน่วยงาน สายวิชาชีพ กลุ่มสนับสนุนบริการ กลุ่มอำนวยการ ขอตาม FTE ขอขยายเกิน FTE ระดับโรงพยาบาล 55 44 275 113 138 248 ระดับ รพ.สต. 2 6 รวม 57 50

8 แผนของบพัฒนาบุคลากร ตาม service plan จังหวัดราชบุรี
รพ สาขา Service Plan สายวิชาชีพ หลักสูตร งบประมาณ ต่อคน (บาท) รพศ.ราชบุรี 1. ศูนย์หัวใจระดับ 1,2 พยาบาล การอบรมเชิงปฏิบัติการ ตรวจสวนหัวใจสำหรับพยาบาล 40,000 การอบรมพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลโรคหัวใจ และทรวงอก 2. โรคมะเร็ง การพยาบาลเฉพาะทางสาขา การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง รพท.ดำเนินสะดวก รพท.บ้านโป่ง นักรังสีการแพทย์ /นักฟิสิกส์ การอบรมพัฒนาศักยภาพด้านรังสีรักษา รพ.สวนผึ้ง 3. อุบัติเหตุ การอบรมพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติฉุกเฉิน (Emergency Nurse Practioner) 45,000 4 ทารกแรกเกิด การศึกษาอบรมหลักสูตร การพยาบาลเฉพาะทางสาขาทารกแรกเกิดวิกฤต 5. จิตเวช หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสุขภาพจิตและจิตเวช 35,000 รพร.จอมบึง 7. ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสุขภาพองค์รวม System Manager Nurse 8. ทันตกรรม ทันตแพทย์ อบรมงานทันตกรรมทั่วไป (ทพ.) 50,000 อบรมงานทันตกรรมสำหรับเด็ก (ทพ.) 9.1 จักษุ หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา 9.2 ไต หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ป่วยที่รับการบำบัดทดแทนไต (การล้างไตทางช่องท้อง)  710,000

9 43 แฟ้ม แผนการบริหารจัดการระบบข้อมูล NCD KPI 21 แฟ้ม Evaluation DATA
การบริหารจัดการระบบข้อมูล Data Management 2 การนำข้อมูลที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ Monitor 3 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในแต่ละระดับ KPI DATA Evaluation เร่งรัดและพัฒนาคุณภาพการลงข้อมูลผ่านโปรแกรม ต่างๆ (JHCIS, HOSxP, HOS OS ฯลฯ) พัฒนาโปรแกรม Data Management โดยทีม IT เขต รายงานต่างๆ -ข้อมูลกำหนดรหัส (ยา,วินิจฉัยโรค,อาชีพ,ประเภทต่างๆ ฯลฯ) -ข้อมูลลงทะเบียน (บุคคล, ผู้ป่วย,หน่วยบริการ, บ้าน,วัด ฯลฯ) -ข้อมูลการให้บริการ (ตรวจรักษา,การให้ยา,คัดกรอง ฯลฯ) -ข้อมูลอื่นๆ Individual Data ใน Data Set ของแต่ละโปรแกรม ผ่านโปรแกรมแปลงข้อมูล ของแต่ละโปรแกรม การสำรวจ การให้บริการ แหล่งข้อมูล อื่นๆ ผ่านโปรแกรมเฉพาะ ของ HOSxP รพสต./รพ. สสจ. Standard Data Set 21 Files Data Center BMS Data Set Data Center Standard Data Set 43 Files Data Center รายงานที่เป็นเป้าหมายในการพัฒนา 22 ตัว นโยบายผู้ตรวจฯ ข้อที่ 3 นโยบายผู้ตรวจฯ ข้อที่ 4 B C A DBPop 43 แฟ้ม 21 แฟ้ม D NCD

10 ดำเนินการจัดทำข้อมูล DBPOP ตาม Filters ของเขต ในภาพระดับจังหวัด/อำเภอ(คปสอ.)
จัดส่งข้อมูลให้กลุ่มงาน/คปสอ.และ Project Manager เพื่อนำไปใช้ทำการศึกษาและตรวจสอบ จัดส่งข้อมูลเปรียบเทียบกับที่เขต Filters ได้ เพื่อตรวจทาน ประกาศใช้ ฐานข้อมูล Dbpop ตามนโยบายของเขตฯ ๕ ในการ นำไปใช้ในการกำหนดเป้าหมายงานในแต่ละกลุ่มวัยของจังหวัดซึ่งแยกลงถึงราย CUP และหน่วยบริการ Policy ตรวจสอบการส่งข้อมูล ๒๑/๔๓ แฟ้มจากหน่วยบริการทุกวัน/สัปดาห์/เดือน จากหน่วยบริการเข้าระบบของจังหวัด ทั้ง provis/hdc (เชิงปริมาณ) การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลมีการตรวจสอบ ในระดับหน่วยบริการ/อำเภอ/จังหวัด ในเบื้องต้นเน้นคุณภาพที่ข้อมูล ๒๑ แฟ้ม และเน้นปริมาณที่ ๔๓ แฟ้มตามตัวชี้วัดซึ่งในส่วนหลังได้เริ่มทำคุณภาพควบคู่ไปด้วย KPI..57

11 1 ข้อมูล21 และ 43 แฟ้ม ถูกนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ OutCome มาตรการเขต ทุกจังหวัดพัฒนาระบบ Data Center รองรับ 43 แฟ้ม Region 5 มาตรการจว. 1..ระบบ Data Center ของจังหวัด สามารถรองรับข้อมูล 43 แฟ้มได้ 2 ข้อมูลจากระบบ Data Center สามารถประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยบริการได้ มาตรการเขต หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับพัฒนาคุณภาพข้อมูล มาตรการจว. หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับพัฒนาคุณภาพข้อมูล มาตรการเขต เครือข่ายบริการสุขภาพ ส่งเสริมและผลักดันให้ทุกจังหวัด นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ในทุกระดับสถานบริการ มาตรการจว. เครือข่ายบริการสุขภาพ สนับสนุน/ส่งเสริม ให้มีการใช้ประโยชน์ จาก Data Center PP สนับสนุน=412,400 PPB=46,800 PPA=331,500 ทันตฯ=80,000 เงินบำรุง=1,898,240 2,768,940บาท ครอบคลุมทั้งจังหวัด

12 แผนการบริหารเวชภัณฑ์
สถานการณ์และสภาพปัญหา มูลค่าการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ ลดลงยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด เนื่องจาก 1.โรงพยาบาลในจังหวัดยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการ บริหารเวชภัณฑ์ 9 ข้อทุกแห่ง 2.มูลค่าการจัดซื้อรวมยายังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 3.สัดส่วนรายการและมูลค่าการใช้ยา ED:NED ของโรงพยาบาลในจังหวัดยังไม่ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 4.มูลค่าการใช้ยา 4 กลุ่มยังมีมูลค่าสูงขึ้นและ มีโรงพยาบาลที่ยังดำเนินการไม่ครบถ้วน

13 มาตรการ 1.พัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารเวชภัณฑ์ตาม มาตรฐาน 9 ข้อ โดยคณะกรรมการบริหารเวชภัณฑ์ ระดับจังหวัดและตรวจกำกับติดตาม 2.ลดค่าใช้จ่ายโดยดำเนินการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ 2.1. ดำเนินการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ร่วมจังหวัดราชบุรี 2.2. ดำเนินมาตรการ antibiotic smart use 2.3.มีการบริหารคลังยาร่วมและปรับเปลี่ยนยาจิตเวช ในโรงพยาบาลให้มีลักษณะภายนอกที่เหมือนกัน 3.สัดส่วนรายการและมูลค่าการใช้ยา ED:NED ของ โรงพยาบาลในจังหวัดได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยมีการ ดำเนินการ Generic Substitued 4.กำกับติดตามการทำ DUE ของโรงพยาบาลในจังหวัด

14 สรุปแผนงานบริหารเวชภัณฑ์
มี 4 มาตรการ งบประมาณ สป. 8,000 บาท อื่นๆ 75,000 บาท ผลงาน 1.ดำเนินการยารวมจังหวัดจำนวน 156รายการ วัสดุการพยาบาล 20 รายการ วัสดุทันตกรรม 12 รายการ รวมมูลค่า 148,786,474บาท 2. มูลค่าการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ มูลค่าการจัดซื้อ เป้าหมาย ผลงาน ยา ลดลง 10% เพิ่มขึ้น 2.49% เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ลดลง 0.28% วัสดุวิทยาศาสตร์ ลดลง 20% ลดลง0.24%

15 แผนพัฒนาประสิทธิภาพการจัดซื้อจัดจ้าง
สถานการณ์ ปี สิ่งก่อสร้างของหน่วยบริการยังก่อสร้างไม่แล้วเสร็จ 4 รายการ คือ ปี54 อาคารพักพยาบาล 32 หน่วย รพร.จอมบึง และรพ.บ้านโป่ง ปี56 อาคารศูนย์หัวใจมะเร็ง รพ.ราชบุรี และอาคาร สสอ.สวนผึ้ง ปี ได้รับจัดสรรงบประมาณ - ครุภัณฑ์ 29 รายการ เซ็นสัญญาได้ทันกำหนด 27 รายการ ไม่ทัน 2 รายการ - สิ่งก่อสร้าง 15 รายการ เซ็นสัญญาได้ทันกำหนด 14 รายการ ไม่ทัน 1 รายการ ปัญหา ความล่าช้าการจัดซื้อจัดจ้าง 2. มีข้อผิดพลาดในการปฏิบัติระเบียบพัสดุ สาเหตุ - การเริ่มกระบวนการพัสดุล่าช้า ประกาศจัดหาหลายครั้ง ไม่มี ผู้สนใจเสนอราคา ผู้รับจ้างล่าช้าในการก่อสร้าง - ครุภัณฑ์ กำหนดspec ล่าช้า จนท.ขาดความรู้ความเข้าใจและ ทักษะ ประสบการณ์ในการจัดซื้อ จัดจ้าง

16 มาตรการ/โครงการ การแก้ไขปัญหา
มาตรการ/โครงการ การแก้ไขปัญหา มาตรการ 1 เร่งรัดการจัดซื้อจัดจ้าง - จัดทำแผนขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง - แจ้งมาตรการและแนวทางในการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง - ประชุมติดตามความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้าง และเบิกจ่ายเงิน  มาตรการ 2 เพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานจัดซื้อจัดจ้าง - จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานจัดซื้อจัดจ้าง - ประชุม/อบรม ให้ความรู้การปฏิบัติงานพัสดุแก่เจ้าหน้าที่

17 ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ / อัตรา
1. การจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ และสิ่งก่อสร้าง สามารถ ลงนามได้ภายใน 30พย.56 ร้อยละ 100 - ครุภัณฑ์ รายการ ลงนามได้ รายการ (คิดเป็นร้อยละ 93.10) - สิ่งก่อสร้าง รายการ ลงนามได้ รายการ (คิดเป็นร้อยละ 93.33) 2. การเบิกจ่ายงบลงทุน ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด - ไตรมาส 1 ร้อยละ 22 - ไตรมาส 2 ร้อยละ 46 - ไตรมาส 3 ร้อยละ 70 - ไตรมาส 4 ร้อยละ 95 ร้อยละ 0.00 (งปม.โอนมาช่วงปลาย ไตรมาสที่1เบิกจ่ายไม่ทัน)

18 สรุปแผนพัฒนาประสิทธิภาพจัดซื้อจัดจ้าง
มี 2 มาตรการ งบประมาณที่ใช้ แห่งงบ งบประมาณ หน่วย 23,900 บาท เงินนอกงบประมาณ 37,000 รวม 60,900

19 การจัดการเรื่องร้องทุกข์
สถานการณ์ ปัจจุบันข้อมูลข่าวสารราชการมีการรับรู้ได้อย่างรวดเร็วและเป็นวงกว้างมากขึ้น ดังนั้นผู้มีส่วนได้เสีย จึงสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างดี โดยรับรู้ถึงสิทธิ หน้าที่ที่ตนเองพึงได้และรักษาสิทธิของตนเอง บางครั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจจะไปก้าวล่วงหรือเข้าไปรอนสิทธิของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องหรือไม่อย่างไร วิเคราะห์ปัญหา/สรุปสาเหตุปัญหาสำคัญ 1.เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบไม่สามารถบริหารจัดการในเรื่องร้องทุกข์ได้ตามระยะเวลาที่กฎ ก.พ.ค. กำหนดไว้ 2.ผู้ร้องยังขาดความเข้าใจในเรื่องของการร้องทุกข์โดยมิได้ดำเนินการตามขั้นตอนที่กฎ ก.พ.ค.กำหนดไว้ให้ปฏิบัติ 3.ผู้ที่มีอำนาจในการวินิจฉัยในเรื่องร้องทุกข์บางครั้งประสบปัญหาในเรื่องของขอบเขตของอำนาจในการวินิจฉัยโดยเฉพาะในรายที่จังหวัดเป็นผู้พิจารณา

20 การจัดการเรื่องร้องทุกข์
เป้าประสงค์/ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1. เรื่องการร้องทุกข์ของเจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรีได้รับการช่วยเหลือและดำเนินการอย่างเป็นธรรม 2. เรื่องการร้องทุกข์ได้รับการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและทันต่อเวลา 3. เรื่องการร้องทุกข์ของเจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรีมีการปฏิบัติได้อย่างถูกต้องตามกฎ ก.พ.ค.

21 การจัดการเรื่องร้องทุกข์
มาตรการ / โครงการ แหล่งงบฯ - โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวินัยตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 และ กฎ ก.พ.ค.เกี่ยวกับเรื่องการอุทธรณ์และการร้องทุกข์

22 การจัดการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน
เป้าหมาย : ข้อร้องเรียนของผู้บริโภคทุกเรื่องได้รับการแก้ไข ภายในระยะเวลาที่กำหนด ปีงบประมาณ จำนวนเรื่อง 2554 13 2555 8 2556 15 สถานการณ์ มาตรการ 1.จัดทำมาตรฐานวิธีการปฏิบัติงาน (SOP) 2.จัดตั้งคณะกรรมการพิจารณาทางคดี กรณีคุ้มครองผู้บริโภคด้าน ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3.นำเรื่องเข้าสู่การพิจารณาของคณะอนุกรรมการสถานพยาบาลประจำ จังหวัด กรณีการร้องเรียนด้านบริการสุขภาพ

23 การบริหารงบประมาณ PP จังหวัดราชบุรี ปี 2557
(สำหรับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี/โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/รพช.) สำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 84,740, บาท สำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 1,529,760, บาท - งบลงทุน 48,111,750 บาท - งบดำเนินงาน 36,258,706 บาท - งบ อย.143,600 บาท - งบกองทุนภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย 226, บาท 1. เป็นเงินที่ได้รับแจ้งจัดสรร - งบค่าเสื่อม 65,105, บาท 2. อยู่ระหว่างการรอจัดสรร -เหมาจ่ายรายหัว 1,434,432, บาท -งบ PP ,838, บาท -งบกองทุนโรคเรื้องรัง 10,332,250 บาท -งบแพทย์แผนไทย ,000 บาท -กองทุนท้องถิ่น ,414,755 บาท

24 การบริหารงบ กท.สธ. จังหวัดราชบุรี ปี 2557
(สำหรับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี/ โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/รพช. ประเภท รายละเอียด 1.งบลงทุน 1.) ก่อสร้าง/ปรับปรุง 15 รายการ เงิน 32,067,400 บาท ลงนามในสัญญา 14 รายการ ก่อหนี้ 17,067,400 บาท (ศสม.รพ.ราชบุรี เงิน 15,000,000 บาท รอเคาะราคา) 2.)ครุภัณฑ์ 23 รายการ เงิน 15,944,350 บาท ลงนามในสัญญา 22 รายการ ก่อหนี้ 32,122,400 บาท (รพ.ราชบุรีรอประกาศครั้งที่ 3 รวม3รายการย่อย เงิน 143,400 บาท) 2.งบดำเนินงาน ได้รับ 36,258,706 บาท จัดสรรเป็น -งบบุคลากร 14,472,601 บาท -งบดำเนินงานสำหรับบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาฯ 18,086,105 บาท -งบดำเนินงานแก้ไขปัญหายาเสพติด 3,700,000 บาท

25 การบริหารงบจาก สป.สช. จังหวัดราชบุรี ปี 2557
(สำหรับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี/โรงพยาบาล ศูนย์/ทั่วไป/รพช. ประเภท รายละเอียด 1. งบค่าเสื่อม ฯ (65,105, บาท) - คปสอ.จัดทำแผน ฯเสร็จแล้ว (สปสช.อยู่ระหว่างโอนเงินให้หน่วยบริการ) สัดส่วนระหว่าง รพ.: รพสต : 19.83 2. งบเหมาจ่ายรายหัว (1,437,432, บาท ) (สปสช.อยู่ระหว่างโอนเงินให้หน่วยบริการ) รอเงินค่าแรงจาก สปสช. 3. PP Area Health - กองทุนท้องถิ่น 37,414, บาท สปสช.โอนให้กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น(45.00 บาท/ปชก.) - TSH และ PAP 7,992, บาท โอนให้บริหารจัดการะดับจังหวัดตามผลงาน - จัดบริการ PP 9,784, บาท 4. PP Basic Service (19,697, บาท ) - ให้บริการตามกลุ่มวัย สปสช.โอนให้หน่วยบริการ 5. PP สนับสนุนเงิน (4,298, บาท ) - ดำเนินการจัดทำแผนส่งเสริม ป้องกันระดับจังหวัด สปสช.อยู่ระหว่างโอน 6. กองทุนโรคเรื้อรังเงิน (10,332, บาท ) - โอนลงหน่วยบริการ ตามจำนวนผู้ป่วยและคุณภาพบริการ (สปสช.อยู่ระหว่างโอนเงิน) 7. งบการแพทย์แผนไทย (750,000 บาท ) โอนให้หน่วยบริการตามผลการดำเนินงาน (สปสช.อยู่ระหว่างโอนเงิน

26 สรุปงบประมาณตามแผนสุขภาพจังหวัดราชบุรี ปีงบประมาณ 2557 (จำแนกตามแหล่งงบประมาณ)
ลำดับ แผนสุขภาพ จำนวนโครงการ แหล่งงบประมาณ รวม สป PPB PPA PP สนับสนุน PPทันต กองทุนตำบล อปท กองทุนโรคเรื้อรัง อื่นๆ 1 แผนสุขภาพสตรีและเด็ก 0-5 ปี 109 394,530 2,370,380 954,368 471,800 1,308,500 80,000 749,800 157,500 6,486,878 2 แผนสุขภาพเด็กวัยเรียน 59 170,000 1,434,040 525,850 1,766,210 1,025,000 107,480 5,028,580 3 แผนสุขภาพวัยรุ่น 32 187,760 90,500 484,460 283,575 13,500 372,000 246,900 1,678,695 4 แผนกลุ่มวัยทำงาน 60 464,630 1,658,520 4,854,804 112,800 1,925,590 6,754,399 949,500 16,720,243 5 แผนสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 61 49,600 2,622,165 379,000 147,200 54,000 1,047,825 4,299,790 6 แผนอาหารปลอดภัย 44 330,000 189,780 456,400 173,500 202,710 1,352,390 7 แผนการควบคุมโรคติดต่อ 16 472,200 183,000 4,575,720 1,892,700 7,123,620 8 แผนสิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ 15 267,410 1,498,418 283,800 59,000 428,200 475,600 3,012,428 9 แผนการมีส่วนร่วมภาคประชาชน 3,581,170 3,337,130 17,800 25,000 65,000 7,026,100 รวมงบประมาณแผนด้านส่งเสริมป้องกัน 405 5,917,300 10,046,803 15,851,532 1,074,375 3,106,010 4,083,290 5,145,215 52,728,724 10 แผนพัฒนาบริการ 10 สาขา 88 2,895,900 987,900 75,150 791,500 13,418,750 18,160,200 11 แผนพัฒนาระบบส่งต่อ 700,200 12 แผนพัฒนาคุณภาพบริการ 1,316,373 1,187,373 321,000 8,000 36,050 2,917,559 5,786,355 13 แผนการแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย 2,482,080 66,000 6,183,501 8,731,581 14 แผนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 586,350 192,250 63,650 842,250 แผนโครงการพระราชดำริ 26 37,000 548,500 39,800 2,348,208 2,973,508 รวมงบประมาณแผนด้านบริการ 215 5,122,003 4,083,273 2,049,650 74,000 111,200 - 24,931,668 37,194,094 แผนการเงินการคลัง 20,800 132,625 104,640 258,065 17 แผนการบริหารกำลังคน - จริยธรรม 25 2,084,060 8,963,020 615,000 4,486,800 16,148,880 18 แผนการบริหารระบบข้อมูล 31 46,800 331,500 412,400 1,898,240 2,768,940 19 แผนการบริหารเวชภัณฑ์ 75,000 83,000 20 แผนการพัฒนาประสิทธิภาพจัดซื้อ/จัดจ้าง 23,900 60,900 รวมงบประมาณแผนด้านบริหาร 75 2,136,760 9,009,820 1,160,025 6,601,680 19,319,785 รวมงบประมาณทั้งหมด 695 13,176,063 23,139,896 18,232,682 2,308,400 3,297,210 4,123,090 7,545,899 36,678,563 109,242,603 หมายเหตุ : แหล่งอื่นๆ ได้แก่ เงินบำรุง , สพฉ, อย., อบจ. , อปท, กองทุนโลก, สอวพ, กรมกอง ฯลฯ


ดาวน์โหลด ppt ด้านบริหาร แผนการเงินการคลัง แผนการบริหารกำลังคน - จริยธรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google