งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเก็บรายละเอียดแบบมุมและระยะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเก็บรายละเอียดแบบมุมและระยะ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเก็บรายละเอียดแบบมุมและระยะ
Total Stations การเก็บรายละเอียดแบบมุมและระยะ (REC) SOKKIA

2 ที่หน้าจอ SOKKIA ให้กดที่ F3 หรือ MEM
Total Stations ขั้นตอนในการสร้าง Job SET310 SOKKIA S/N Ver Job . Job1 MEAS CARD MEM CNFG ที่หน้าจอ SOKKIA ให้กดที่ F3 หรือ MEM

3 ทำการเลือกที่ JOB หลังจากนั้นกด Enter
Memory JOB Known data Code ทำการเลือกที่ JOB หลังจากนั้นกด Enter

4 ทำการเลือกที่ JOB selection หลังจากนั้นกด Enter
JOB name edit JOB deletion Comms output Comms setup ทำการเลือกที่ JOB selection หลังจากนั้นกด Enter

5 JOB selection : JOB1 S . F . = Coord search JOB : JOB1 LIST S . F . ทำการกดที่ LIST หรือ F1 เพื่อเลือก JOB งานหรือถ้าต้องการเปลี่ยน Scale factor ให้กดที่ F4

6 ทำการเลือกที่ JOB ที่ไม่มีไฟล์งานหลังจากนั้นกด Enter
JOB selection JOB1 50 JOB2 JOB3 JOB4 JOB5 ทำการเลือกที่ JOB ที่ไม่มีไฟล์งานหลังจากนั้นกด Enter

7  ส่วนที่ Coord search JOB ใช้ในการเรียกค่าพิกัดจาก JOB
JOB selection : JOB2 S . F . = Coord search JOB : JOB2 LIST S . F . ส่วนที่ Coord search JOB ใช้ในการเรียกค่าพิกัดจาก JOB อื่นมาใช้งานถ้าไม่ต้องการใช้ทำการเลือกเป็น JOB เดียวกัน จากนั้นกด Enter

8  จากนั้นหน้าจอจะปรากฏดังรูปถ้าต้องการเปลี่ยนชื่อ JOB
JOB selection JOB name edit JOB deletion Comms output Comms setup จากนั้นหน้าจอจะปรากฏดังรูปถ้าต้องการเปลี่ยนชื่อ JOB สามารถเลือกเปลี่ยนได้ที่ Job name edit

9  หลังจากสร้าง JOB แล้วขั้นตอนต่อไปให้เลือกที่ Code
Memory JOB Known data Code หลังจากสร้าง JOB แล้วขั้นตอนต่อไปให้เลือกที่ Code เพื่อทำการสร้าง Code จากนั้นทำการกด Enter

10  ทำการเลือกที่ Key in Code จากนั้นทำการกด Enter Code Key in code
Deletion Code view Clear list ทำการเลือกที่ Key in Code จากนั้นทำการกด Enter

11  ทำการป้อน Code ที่ใช้จากนั้นทำการกด Enter Code
: STA 1 2 3 4 ทำการป้อน Code ที่ใช้จากนั้นทำการกด Enter Code ตัวนั้นก็จะถูกบันทึกลงในกล้อง

12 เราสามารถเรียกดู Code ที่บันทึกไปแล้วได้ที่ Code view
Key in code Deletion Code view Clear list เราสามารถเรียกดู Code ที่บันทึกไปแล้วได้ที่ Code view

13  กด ESC ออกมาที่หน้า Meas ที่ P1 ทำการ SET 0 ที่มุม Az จด
ppm H m ZA ˚ 32′ 18″ HAR ˚ 20′ 10″ P1 DIST SHV 0SET COORD กด ESC ออกมาที่หน้า Meas ที่ P1 ทำการ SET 0 ที่มุม Az จด ค่า Az ที่มาจุด BS หลังจากนั้นทำการ SET 0 ที่จุด BS

14  ขั้นตอนต่อไปให้มาที่หน้าจอ Meas ที่ P3 ให้กดที่ F3 หรือ REC
ppm H m ZA ˚ 32′ 18″ HAR ˚ 00′ 00″ P3 MLM OFFSET REC S - O ขั้นตอนต่อไปให้มาที่หน้าจอ Meas ที่ P3 ให้กดที่ F3 หรือ REC เพื่อเข้าสู่โหมดของการบันทึก

15 REC JOB2 Stn data Angle data Dist data Coord data Dist + Coord data ขั้นตอนที่ 1 ทำการเลือกที่ Stn data เพื่อทำการบันทึกจุดตั้งกล้อง จากนั้นกด Enter

16  ทำการใส่ชื่อของจุดตั้งกล้องในที่นี้สมมุติให้เป็น A1 และใส่ความ
N0 : 0.000 E0 : 0.000 Z0 : 0.000 Pt . A1 Inst.h : 1.500m OK READ EDIT ทำการใส่ชื่อของจุดตั้งกล้องในที่นี้สมมุติให้เป็น A1 และใส่ความ สูงของกล้องสมมุติ ส่วนค่าพิกัดนั้นค่อยไปใส่ในโปรแกรม ทีหลังจากนั้นกด Enter

17  ต่อไปให้ทำการเลือก Code โดยกดเลือกได้ที่ F2 หรือ F3 หรือถ้า
: STA Operator : OK EDIT ต่อไปให้ทำการเลือก Code โดยกดเลือกได้ที่ F2 หรือ F3 หรือถ้า ต้องการเพิ่มใหม่ให้กดที่ F4 เพื่อ EDIT เพิ่มเข้าไปหลังจากนั้น กด F1 หรือ OK เพื่อทำการบันทึกจุดนี้

18  ขั้นตอนที่ 2 ทำการเลือกที่ Dist data เพื่อทำการเก็บข้อมูล
REC JOB2 Stn data Angle data Dist data Coord data Dist + Coord data ขั้นตอนที่ 2 ทำการเลือกที่ Dist data เพื่อทำการเก็บข้อมูล ของรายละเอียดเป็นแบบมุมกับระยะ จากนั้นกด Enter

19  กดที่ F2 หรือ DIST เพื่อทำการวัดระยะที่จุด Back sight
REC/Dist rec 9999 H ZA ˚ 32′ 18″ HAR ˚ 00′ 00″ Pt . 1 AUTO DIST OFFSET กดที่ F2 หรือ DIST เพื่อทำการวัดระยะที่จุด Back sight

20  ทำการใส่ชื่อของจุด Back sight ใส่ค่าความสูงจากนั้นกด Enter S 25.003m
ZA ˚ 32′ 18″ HAR ˚ 00′ 00″ Pt . 104 Tgt.h : 1.500m OK EDIT ทำการใส่ชื่อของจุด Back sight ใส่ค่าความสูงจากนั้นกด Enter

21  ทำการใส่ Code กด F2 หรือ F3 เพื่อเลือกจากนั้นกด F1 หรือ Code : BS OK
EDIT ทำการใส่ Code กด F2 หรือ F3 เพื่อเลือกจากนั้นกด F1 หรือ OK เพื่อทำการบันทึกรายละเอียดจุดนั้นลงในกล้อง

22 REC/Dist rec 9998 H 25.000m ZA ˚ 32′ 18″ HAR ˚ 00′ 00″ Pt . 105 AUTO DIST OFFSET จากนั้นจะกลับมาที่หน้าจอเดิมให้เล็งไปเก็บรายละเอียดในจุดต่อไปแล้วกดที่ F2 หรือ DIST หรือกดที่ F1 หรือ AUTO ในกรณีที่ไม่มีการเปลี่ยนชื่อและ Code ของรายละเอียดกล้องจะทำการบันทึกให้โดยอัตโนมัติ

23 งานสำรวจจุดระดับภูมิประเทศ (Spot Height) ด้วยกล้องTotal Station และเก็บรายละเอียดที่เกิดขี้นใหม่ที่ไม่มีในภาพถ่ายทางอากาศ ให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งโครงการ

24 การบันทึกข้อมูล (CARD)

25 ที่หน้าจอ SOKKIA ให้กดที่ F2 หรือ CARD
SET310 SOKKIA S/N Ver Job . Job1 MEAS CARD MEM CNFG ที่หน้าจอ SOKKIA ให้กดที่ F2 หรือ CARD

26  ทำการเลือกที่ Save data เพื่อทำการบันทึกข้อมูลลงใน Card
Load known Pt. File status Format ทำการเลือกที่ Save data เพื่อทำการบันทึกข้อมูลลงใน Card จากนั้นกด Enter

27 ทำการเลือกที่ JOB ที่มีไฟล์งานหลังจากนั้นกด Enter ให้
* JOB2 Out JOB3 JOB4 JOB5 OK ทำการเลือกที่ JOB ที่มีไฟล์งานหลังจากนั้นกด Enter ให้ ขึ้นคำว่า Out จากนั้นกด F4 หรือ OK

28  ทำการตั้งชื่องาน วันที่และเวลา หลังจากนั้นกด F4 หรือ OK TEST .CRD
Date : Nov / 16 / 2006 Time : 11 : 50 : SDR Format / KB EDIT OK ทำการตั้งชื่องาน วันที่และเวลา หลังจากนั้นกด F4 หรือ OK

29  * เมื่อได้ทำการถ่ายข้อมูลลง Card แล้วกล้องจะกลับมาที่
JOB1 * JOB2 Out JOB3 JOB4 JOB5 OK เมื่อได้ทำการถ่ายข้อมูลลง Card แล้วกล้องจะกลับมาที่ หน้าจอเดิมให้กด ESC

30  หลังจากนั้นให้เลือกมาที่ File status เพื่อทำการเรียกดูข้อมูลใน
Card Save data Load known Pt. File status Format หลังจากนั้นให้เลือกมาที่ File status เพื่อทำการเรียกดูข้อมูลใน Card ว่าที่บันทึกไปนั้นได้ลง Card ไปเรียบร้อยแล้วหรือยัง จากนั้นกด Enter

31 จะเห็นได้ว่างานที่เราบันทึกนั้นได้ลงมาใน Card เรียบร้อยแล้ว
TEST CRD จะเห็นได้ว่างานที่เราบันทึกนั้นได้ลงมาใน Card เรียบร้อยแล้ว ในขั้นตอนต่อไปก็จะเป็นการนำข้อมูลเข้าโปรแกรม ProLink

32 Survey Reduction Software
SOKKIA ProLINK Survey Reduction Software

33 ทำการเปิดโปรแกรม ProLink ขึ้นมาจะปรากฎหน้าจอดังรูป

34 ทำการเปิดโปรแกรม ProLink ขึ้นมาจะปรากฎหน้าจอดังรูป
ให้ Click ที่หัวกระดาษด้านซ้ายตรงลูกศรเพื่อทำการสร้างงาน จากนั้นกด SAVE

35 จากนั้นจะเห็นได้ว่าที่หน้าจอจะปรากฏชีทงานขึ้นมา ขั้นตอน
ต่อไปให้เลือกไปที่ File import

36  จะปรากฏกล่องคำสั่ง Import ขึ้นมาที่ Import Conversion ให้
เลือกไฟล์งานที่จะทำการเปิดหาเป็น SDR Files (*.SDR) ดัง ตัวอย่างในรูปจากนั้นกด OK

37  จะปรากฏกล่องคำสั่ง Import Files ขึ้นมาให้ทำการหาข้อมูลที่
จะเปิดงานจากนั้นตรง File of type ให้เปลี่ยนเป็น All Files แล้ว ทำการ Click ไปที่ไฟล์งานจากนั้นกด Open

38 จะปรากฏไฟล์งานขึ้นมาโดยจะมี 2 ส่วนด้วยกันคือ ส่วนที่เป็น
ข้อมูลดิบและส่วนที่เป็นค่าพิกัด

39 จากนั้นทำการใส่ค่า Az ที่ Back sight โดยคลิ๊กซ้ายของจุดเริ่ม
หลังจากนั้นเลือก Insert Record

40  ทำการเลือก BKB ใส่ชื่อจุด BS ใส่ชื่อจุดตั้งกล้อง
ใส่ค่า Az จากจุดตั้งกล้องไป BS ในที่นี้สมมุติ ใส่ค่ามุมที่ SET ไปที่จุด BS ตอนแรกในที่นี้เป็น 0 ขั้นตอนในการเปลี่ยนค่านั้นต้องกด Enter ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยน เมื่อเปลี่ยนค่าทุกจุดดังรูปเสร็จแล้วให้กด Insert

41 จะเห็นว่าเมื่อใส่ค่า Az เข้าไปค่าพิกัดจะเปลี่ยนไปแต่ค่าพิกัดที่ได้ในตอนนี้เป็นค่าที่ได้สมมุติขึ้นมา ในกรณีที่มีค่าพิกัดที่ปรับแก้มาแล้วเราสามารถใส่ลงไปได้เลย

42 ในที่นี้สมมุติขึ้นมา N 1000 , E 1000 , Z 10 เมื่อใส่ค่าพิกัดเสร็จ
หมดทุกจุดจากนั้นให้กด Ctrl+G เพื่อทำการคำนวณค่าใหม่

43 จากนั้นโปรแกรมจะทำการคำนวณค่าพิกัดของแต่ละจุดออกมาให้
ขั้นตอนต่อไปเป็นการนำค่าพิกัดไปใช้กับโปรแกรม Autocad

44 ขั้นตอนต่อไปให้เลือกไปที่ File Export

45  ทำการเลือกที่ Reduced Corrd หลังจากนั้นที่ Export Conversion
ให้เลือกดังรูปโดยรูปแบบที่จะนำออกนั้นเป็นแบบ Point , N , E , Z ,Code จากนั้นกด OK

46  ทำการเลือกที่อยู่ที่จะบันทึกไฟล์ จากนั้นใส่ชื่อไฟล์และกด Save
จากนั้นก็เข้าไปเปิดไฟล์ในโปรแกรม Autocad


ดาวน์โหลด ppt การเก็บรายละเอียดแบบมุมและระยะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google