ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
โรงพยาบาลแม่ใจ จังหวัดพะเยา
2
ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยที่กินยาต้านไวรัสเอดส์
ประเภท ปี 2550 ปี 2551 จำนวนผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนการรักษา 227 251 จำนวนผู้ป่วยที่กินยาต้านไวรัสเอดส์สะสม 174 210 จำนวนผู้ป่วยที่ยังคงกินยาต้านไวรัสเอดส์ 144 170 อัตราการจำหน่ายของผู้ป่วยที่กินยาต้านไวรัสเอดส์ 17.24% 19% อัตราการตรวจพบเชื้อที่คลินิกนิรนาม(กรณีขอใบรับรองแพทย์) 2.5% 3% อัตราการติดเชื้อของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 0.9% 0.8%
3
สาเหตุที่ทำให้เกิด Poor Adherence
ด้านระบบบริการ ด้านผู้ป่วย ระบบบริการ/รูปแบบไม่ชัดเจน ไม่มีเครื่องมือติดตาม ภาระงาน ไม่เปิดเผย ไม่มีผู้ดูแลที่บ้าน ระยะของโรค ระดับการรับรู้ ป่วยด้วยโรคติดเชื้อฉวยโอกาส งานยุ่ง
4
ผลลัพธ์ของ Poor Adherence
อัตราการเสียชีวิต ปี 2549 =7.5% อัตราการ Admit ด้วยโรค OI ปี 2549 = 12.33%
5
เป้าหมาย ผู้ป่วยที่กินยาต้านไวรัสเอดส์ทุกคนมี ARV Adherence >95%
6
กลยุทธ์การส่งเสริม Adherence
การเข้าถึงระบบบริการ การทำงานเป็นทีม กำหนดแนวทางการส่งเสริม Adherence สร้างเครื่องมือในการติดตาม Peer Group Motivation Csg.
7
แนวทางการส่งเสริม Drug Adherence
ผู้ติดเชื้อ ที่ได้รับ ยาต้านไวรัส ประเมิน Drug Adherence มากกว่า 95% เข้ากลุ่มปกติ มากกว่า 95% น้อยกว่า 95% น้อยกว่า 95% Individual Counseling กิจกรรม Peer Support โดย กลุ่ม ผู้ติดเชื้อ ประเมิน Drug Adherence โดยแพทย์ พยาบาล เภสัชกร Motivational Interview ได้สาเหตุ แนวทาง แก้ไขปัญหา ได้สาเหตุ แนวทาง แก้ไขปัญหา
8
ผลที่เกิดจาก Good Adherence
ด้านระบบบริการ ด้านผู้ป่วย มีการทำงานเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ มีแนวทางการส่งเสริม Adherence มีเครื่องมือในการติดตาม สนับสนุนอุปกรณ์ในการเตือนการกินยา มีการเตรียมผู้ป่วยและผู้ดูแล ให้เวลาในการตัดสินใจรักษา ได้รับข้อมูลครบถ้วน รอบด้าน และต่อเนื่อง มีแนวทางที่เป็นรูปธรรมในการกินยาที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแต่ละคน มีความตระหนักในการกินยา
9
ผลลัพธ์ ผู้ป่วยมีสุขภาพดี สามารถดำเนินชีวิตได้ตามอัตภาพ
อัตราการตายลดลง จากปี 2549=7.5% ปี 2550=4.8% ปี 2551=4.7% อัตราการป่วยด้วยโรค OI ลดลง ปี 2550=11.5% ปี 2551 =2.9% อัตรา ARV Adherence <95% ลดลง จาก ปี 2550= 0.8% ปี 2551=0.3% อัตราการดื้อยา ปี 2551= 2.4%
10
สิ่งที่ได้เรียนรู้ การทำงานเป็นทีม ความต่อเนื่องในการติดตาม
เข้าใจธรรมชาติของความเป็นคน
11
สิ่งที่ต้องเฝ้าระวังต่อเนื่อง
ด้านผู้ป่วย ด้านระบบบริการ มีสุขภาพดี ส่งผลให้ กลับมีพฤติกรรมเสี่ยงเดิม ลดความระมัดระวังในการดูแลสุขภาพ เพิ่มระยะเวลาในการแพร่เชื้อ การมีคู่ครองใหม่ ต้องการมีบุตร มีผู้ป่วยสะสมจำนวนมากขึ้น ส่งผลให้ เกิดความเคยชิน ละเลยการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย
12
สิ่งที่ท้าทาย การพัฒนาระบบบริการสำหรับกลุ่มที่ไม่เปิดเผย
13
กิจกรรม การติดตาม ARV Adherence
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.