ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTanit Ahunai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
แนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาไม่มีหมุดหลักฐานแผนที่ระบบ U. T. M
- สร้างหมุดฯ ในตำแหน่งที่มั่นคง ถาวร ยากต่อการถูกทำลาย เช่น สถานที่ราชการ - ระยะห่างระหว่างหมุดประมาณ 400 เมตร หรือขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศ แต่ต้องไม่มีสิ่งอื่นมาบังแนวเล็ง และฝังหมุดเสมอดินหันหัวตัวอักษรไปทางทิศเหนือ - ใช้หมุดหลักฐานแผนที่แบบ ค. (หลักกลมขนาด 8 x 15 cm.) และกรณีจำเป็นเร่งด่วน อนุโลมให้ใช้หลักเขตแปลงที่ดิน ส.ป.ก. แทน และถ้าใช้หมุดฯ แบบ ค. ให้ประสานขอหมายเลขหลักจาก คุณสมศักดิ์ ธูปสมุทร โทร
2
- การสร้างหมุดหลักฐานแผนที่ฯ พิจารณาดังนี้
1. กรณีมีแปลงที่ดินที่ต้องรังวัดหลายแปลงใน 1 ระวาง (1:4,000) ให้สร้างหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดินบริเวณริมระวางหรือที่เหมาะสม 4 – 5 คู่ เพื่อใช้ออกงานหรือเข้าบรรจบ เพื่อให้การโยงยึดค่าพิกัดเพื่อรังวัดแปลงที่ดินมีระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร 2. กรณีมีแปลงที่ดินที่ต้องรังวัด 1 – 2 แปลง ให้สร้างหมุดหลักฐานฯ 1 – 2 คู่ 3. ให้ทำบันทึกแจ้งการฝังหมุดทุกหมุดพร้อมที่ตั้งให้ สผส. ทราบ เพื่อพิจารณาสนับสนุนการโยงยึดค่าพิกัดเป็นระบบ U.T.M.
3
แนวทางการสร้างหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดิน
กรณี มีแปลงที่ดินที่ต้องรังวัดหลายแปลง GPS 10060 GPS 10052 GPS 10059 GPS 10051 วงรอบปิด AZ 70º53΄ ม. แปลงที่ดิน วงรอบเปิด GPS 10056 GPS 10080 GPS 10055 GPS 10081
4
แนวทางการสร้างหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดิน
กรณี มีแปลงที่ดินที่ต้องรังวัด 1-2 แปลง 10 0936 1078 แปลงที่ดิน
5
หมุดหลักฐานแผนที่ แบบ ค.
7
ตัวอย่างการเขียน Description
GPS 10056 GPS 10055 ทางลูกรัง ไป บ. สระมะค่า ไป บ. ประดู่ AZ 160º53΄30΄΄ ม. R.P.1 ต้นมะค่า Ø 0.50 ม. AZ 70º53΄ ม. R.P.3 R.P.2 เสาไฟฟ้าหมายเลข 1 R.P.4 เสาไฟฟ้าหมายเลข 2 AZ 135º22΄ ม. AZ 110º22΄ ม. AZ 79º44΄ ม.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.