ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNeungluthai Temirak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ข้อพิจารณาว่าน่าจะทำเป็น ข้อเสนองานเอดส์ 1) ข้อมูลสามารถแปลงเป็นประเด็นเชิงกลยุทธ (Strategic Information) ความสำคัญของปัญหา และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เกี่ยวกับเอดส์ กับข้อมูลประชากรเพื่อกำหนดแนวทาง แก้ปัญหาได้ชัดเจนโดยเฉพาะเป้าหมาย (targets) มากน้อยเพียงใด ( ข้อมูลระบาด และ ข้อมูลสถิติอื่น ) 2) ขนาดปัญหาและมีขบวนการหรือกลไกปรากฎ เพื่อตอบสนองกี่ระดับ ( เป็นปัญหาระดับชาติ ระดับภูมิภาค มีนโยบายระดับชาติ มีการหารือ หรือข้อตกลงระดับต่างๆ ) 3) การประเมินถึงผลที่คุ้มค่าในการลงทุนและ ความเสี่ยงด้านต่างๆตลอดจนการติดตาม ประเมินผลในระหว่างและหลังดำเนินการ
2
ข้อสังเกตเกี่ยวกับข้อมูล ตัวข้อมูลเท่าที่มีน่าเชื่อถือและมีนัยสำคัญมากน้อย เพียงใด จำนวนประชากรเป้าหมายมากน้อย เพียงใด แล้วจะใช้ข้อมูลไหนถึงจะแปลงเป็นข้อมูล เชิงกลยุทธ์ได้ เช่น ข้อมูลจากหนังสือสุขภาพคนไทย 2556 โดย IPSR-Mahidol Uni หน้า 32-33 จะน่าสนใจกว่าข้อมูล พื้นที่ที่มีนัยสำคัญน้อยกว่าหรือเปล่า * แรงงานข้ามชาติเป็นหนึ่งในประชากรชายขอบ และประชากรชายขอบเป็นหนึ่งในสิบตัวชี้วัดควา มั่นคงของมนุษย์ * แรงงานข้ามชาติเป็นประชากรที่มีจำนวนมาก เป็นอันดับสอง (2.5 ล้าน ) รองจากคนจน ( 5 ล้าน ) ที่มีอยู่ ในประเทศไทย * ความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มแรงงานข้าม ชาติ จากการเฝ้าระวังปี 2554 พบว่ามีร้อยละ 1.7
3
ในประเทศไทย * แรงงานต่างชาติที่ทำประมงมีพฤติกรรมเสี่ยงสูง กว่า ( แรงงานประเภทอื่น ) และอัตราการติดเชื้อเอช ไอวีสูงเท่าถึง 9%. * อัตตราการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มพนักงาน บริการตในพื้นที่และเมืองตามชายแดนจะสูงกว่า พื้นที่ทั่วไป * อัตตราการติดเชื้อในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่รับการ ตรวจเลือดที่คลีนิคเอเอนซีในประเทศไทยแสดง ถึงอัตตราการติดเชื้อในกลุ่มแรงงานหญิงตั้งครรภ์ สูงกว่าอย่างมีนัยยะสำคัญ JUNIMA มีข้อมูลสรุปว่า
4
ขนาดปัญหาและขบวนการ / กลไก เป็นปัญหาทุกระดับ ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระหว่าง ประเทศ ระดับอาเซียน และระดับภูมิภาคเอเชีย มีนโยบาย ขบวนการและกลไกทุกระดับ เช่น * นโยบายระดับไหน มติครม. นโยบายกระทรวง แผน ยุทธศาสตร์ระบุมุ่งเน้นแค่ไหน * ระดับชาติและระหว่างเมืองชายแดนติดกัน มี คณะกรรมการต่างๆและคณะกรรมการด้านสุขภาพชายแดน เช่น คณะกรรมการระหว่างเมืองเชียงรายของไทยกับเมือง บ่อแก้วของลาว คณะกรรมการระหว่างไทยกับกัมพูชา และระหว่างไทยกับพม่า * ระดับภูมิภาคได้แก่ ASEAN Taskforce on AIDS และ โดยเฉพาะ JUNIMA (The Joint United Nations Initiative on Mobility and HIV/AIDS in South East Asia)
5
The Joint United Nations Initiative on Mobility and HIV/AIDS in South East Asia (JUNIMA) เดิมรู้จักกันในนาม the United Nations Regional Task Force on Mobility and HIV Vulnerability Reduction (UNRTF) JUNIMA ประกอบด้วย ตัวแทนรัฐบาลประเทศ ต่างๆรวมทั้งสำนักเลขาธิการอาเซียน เครือข่าย องค์กรพัฒนา และ หน่วยงานองค์การ สหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงการป้องกัน การ ดูแลรักษาและหนุนเสริมของกลุ่มประชากร เคลื่อนย้ายและแรงงานข้ามชาติในเอเยาคเนย์ และภาคใต้ของจีน
6
จุดแข็งของ JUNIMA คือมาจากการรวมตัวที่ หลากหลาย มีความรู้ และเป็นองค์กรสมาชิกที่ มีเจตนารมณ์มุ่งมั่นได้แก่ หน่วยงานรัฐบาล หลายประเทศ องค์กรรัฐระหว่างประเทศ หน่วยงานสหประชาชาติหลายหน่วยงาน องค์กรพัฒนาเอกชนนานาชาติ องค์ภาคประชา สังคม กลุ่มผู้ติดเชื้อ และองค์ที่ทำงานด้าน แรงงานข้ามชาติ มีเวทีที่สมาชิกได้เข้าร่วมหารือกันเรื่องต่างๆ รวมทั้งรายงานความก้าวหน้าด้านต่างๆเช่น 1) การใช้ข้อมูลเชิงกลยุทธ์ 2) นโยบายและการ รณรงค์ส่งเสริม 3) กลไกที่มีผู้เข้าร่วมหรือภาคีที่ หลากหลาย
7
การประเมินถึงผลที่คุ้มค่า & ความ เสี่ยง ดำเนินไปพร้อมๆกับการพัฒนาข้อเสนอ หรือทำ ก่อนและหลังการเขียนข้อเสนอ วิธีการและเครื่องมือ ( วิธีการประเมินโครงการ ปกติ /project appraisal กลไก CCM-TC Feasibility study ฯลฯ ) ใช้กลไกที่มีอยู่แล้วเช่นกรรมการชายแดน JUNIMA การติดตามและประเมินผลก่อน ระหว่างและ หลังการดำเนินงานโครงการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.