ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNet Supitayaporn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
2
เป้าหมาย ระบบอีเลินนิ่งเกษตรกรรม 3 รายวิชา
ระบบอีเลินนิ่งเกษตรกรรม 3 รายวิชา ระบบอีเลินนิ่งช่างอุตสาหกรรม 3 รายวิชา ครูต้นแบบเกษตรกรรม 9 คน ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม 9 คน ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 6 คน ข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพ 6 วิชา คู่มืออีเลินนิ่ง 6 วิชา งานวิจัยการเรียนการสอน 7 เรื่อง (ครูต้นแบบ 6 เรื่อง คณะวิจัย 1 เรื่อง)
3
กรอบแนวคิดพัฒนาครูต้นแบบ (HPT) Human Performance Technology
การวิเคราะห์ความสามารถ ( Performance Analysis) การวิเคราะห์เหตุผล (Cause Analysis) การเลือกวิธีผลักดัน ออกแบบและพัฒนา (Intervention Selection, Design and Development) การผลักดันนำไปใช้และการเปลี่ยนแปลง (Intervention Implementation and Change) การประเมินผลโดยรวม (Evaluation)
4
กรอบแนวคิดการพัฒนาการเรียนการสอน (ISD) Instructional System Design)
การวิเคราะห์ (Analysis) การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การนำไปใช้ (Implementation) การประเมินผล (Evaluation)
5
ภารกิจครูต้นแบบ อบรมทำความเข้าใจระบบ LMS กำหนดรูปแบบรายวิชา
ครูต้นแบบ 3 คน อบรมทำความเข้าใจระบบ LMS กำหนดรูปแบบรายวิชา กำหนดวัตถุประสงค์รายวิชา คำอธิบายรายวิชา กำหนดขอบเขตเนื้อหาวิชา จัดทำแบบทดสอบ ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียน
6
ประโยชน์ที่ครูต้นแบบจะได้รับ
เกียรติบัตรครูต้นแบบ สอศ. การเป็นครูต้นแบบเป็นผลงานในระดับครูชำนาญการพิเศษและครูเชี่ยวชาญ เกียรติประวัติและการยอมรับนับถือ ระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บวิชาที่สอน ผลงานทางวิชาการสำหรับการเสนอขอผลงาน เพื่อนใหม่และคนในวงการเดียวกัน ความท้าทายใหม่/ประสบการณ์ในระดับชาติ พฤติกรรมที่ต้องเปลี่ยนไปเพื่อรักษาเกียรติครูต้นแบบ การเรียนการสอนแบบใหม่ ๆ สำหรับลูกศิษย์
7
ปัจจัยนำเข้าโครงการ ครูผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ระบบ e-Learning Moodle
ครูเกษตรกรรม ครูช่างอุตสาหกรรม ครูสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบ e-Learning Moodle
8
กระบวนการโครงการ แนวคิดการพัฒนาระบบการเรียนการสอน
E-Learning ไม่สำเร็จถ้าคนทำไม่ใช่ระดับครูต้นแบบ จึงคัดเลือกครูมาเป็นต้นแบบ 6 วิชา จำนวน 18 คน ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Moodle ไม่มีประโยชน์ถ้าเนื้อหาไม่ครบวิชา ไม่ตรงวัตถุประสงค์ ครูต้นแบบจึงต้องรู้ Moodle แต่มีคนจัดทำและดูแลระบบให้ การร่วมมือ ครูต้นแบบทำงานคนเดียวไม่สำเร็จ จึงคัดเลือกมาเป็นทีม ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์จะดูแลเว็บและนำเนื้อหาเข้าเว็บ แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การจัดทำ e-Learning เพื่อเด็ก คนจะเรียนรู้ได้ต้องสอนด้วยคนที่เป็นต้นแบบ
9
ผลผลิตของโครงการ E-Learning เกษตรกรรม วิชา
การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว หลักการส่งเสริมการเกษตร หลักพืชกรรม E-Learning ช่างอุตสาหกรรม วิชา เครื่องมือวัดไฟฟ้า งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น งานเครื่องยนต์เบื้องต้น
10
ผลผลิตของโครงการ (2) ครูต้นแบบเกษตรกรรม 9 คน
ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม 9 คน ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 6 คน e-Learning 6 วิชา งานวิจัย 7 เล่ม ข้อสอบมาตรฐาน 6 วิชา รูปแบบการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนโดยครูต้นแบบ (Model)
11
ผลลัพท์ของโครงการ ระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บช่างอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดสอนในภาคเรียนที่ 2/2550 เครือข่ายครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาการอาชีวศึกษา ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม สามารถเข้าร่วมในคลัสเตอร์ช่างอุตสาหกรรม ข้อสอบมาตรฐานรายวิชาช่างอุตสาหกรรม สำหรับสำนักมาตรฐานอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สอศ. ระบบการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ระบบการศึกษาเสริมระบบการเทียบโอนหน่วยกิตและระบบเทียบโอนประสบการณ์วิชาชีพ
12
eLearning1
13
eLearning2
14
elearning3
15
elearning4
16
elearning5
17
elearning6
18
ระบบอาจารย์และนักเรียน
19
ที่ปรึกษาโครงการ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.