ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNaruemon Vipavakit ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
เป้าหมายการรับจำนำ (ทั่วประเทศ) 25 ล้านตัน ระยะเวลารับจำนำ 7 ต.ค. 54 – 29 ก.พ. 55 ตั้งแต่ – น. การไถ่ถอน : 4 เดือน นับถัดจากเดือนที่รับจำนำ หลักเกณฑ์การรับจำนำ เกษตรกรผู้มีสิทธินำจำ มีหนังสือรับรองเกษตรกรจากกรมส่งเสริมการเกษตร ซึ่งผ่านการประชาคม และเกษตรกรลงชื่อรับรองตนเอง พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตรและปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือปลัดเทศบาลลงชื่อรับรองด้วย เป็นลูกค้า ธ.ก.ส. ต้องเป็นข้าวเปลือกของเกษตรกรเอง ที่ปลูกในปี2554/55 พื้นที่รับจำนำ : เกษตรกรสามารถจำนำข้าวเปลือกได้ในพื้นที่จังหวัดของตนเองเท่านั้น ยกเว้นพื้นที่ตำบลติดต่อกัน กรณีเกษตรกรได้รับความเดือดร้อน โรงสีในจังหวัดไม่เพียงพอให้บริการเกษตรกร จำเป็นต้องจำนำข้ามเขตเกินกว่าระดับตำบล ให้คณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัด เป็นผู้พิจารณาอนุมัติเปิดจุดรับจำนำนอกพื้นที่ การเข้าร่วมโครงการของโรงสี โรงสีที่จะเข้าร่วมโครงการต้องได้รับการเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัด โรงสีที่เข้าร่วมโครงการจะรับจำนำข้าวเปลือกจากเกษตรกรได้ไม่เกิน 30 เท่า ของกำลังการผลิต โรงสีต้องวางหลักทรัพย์ค้ำประกัน 50% ของมูลค่าข้าวที่รับจำนำ 4. การสีแปรสภาพ : โรงสีจะต้องสีแปรสภาพข้าวทุก 10 วัน ในอัตรา 100% ไม่จำกัดปริมาณข้าวเปลือกของเกษตรกรที่นำมาจำนำ ชนิดข้าว/ราคาที่รับจำนำ (ณ ความชื้นไม่เกิน 15%) 1. ข้าวเปลือกหอมมะลิ (42 กรัม) ตันละ 20,000 บาท 2. ข้าวเปลือกหอมจังหวัด (40 กรัม) (ข้าวหอมมะลินอกพื้นที่ 23 จังหวัด) 18,000 บาท 3. ข้าวเปลือกปทุมธานี (42 กรัม) 16,000 บาท 4. ข้าวเปลือกเหนียว 10% เมล็ดยาว ข้าวเปลือกเหนียว 10% เมล็ดสั้น 15,000 บาท 5. ข้าวเปลือกเจ้า 100% ข้าวเปลือกเจ้า 5% 14,800 บาท ข้าวเปลือกเจ้า 10% 14,600 บาท ข้าวเปลือกเจ้า 15% 14,200 บาท ข้าวเปลือกเจ้า 25% 13,800 บาท ราคารับจำนำให้ปรับเพิ่ม – ลด ตามจำนวนกรัม ในอัตรากรัมละ 200 บาท
2
ขั้นตอนการดำเนินการตามมาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
จุดรับจำนำ (โรงสี/ลานรับซื้อที่เป็นจุดจำนำนอกพื้นที่) คุณสมบัติโรงสี -ไม่เคยทำผิดเกี่ยวกับการรับจำนำข้าว -ต้องมีลานตาก และสถานที่เก็บในบริเวณเดียวกับโรงสี -มีเครื่องอบลดความชื้น เครื่องวัดความชื้น เครื่องชั่งน้ำหนักรถยนต์ -ติดตั้งกล้องวงจรปิด -มีสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น คอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่ อคส. (รับจำนำตั้งแต่ – น) -ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน -ตรวจรับมอบข้าวเปลือกจากเกษตรกร -ออกใบประทวนสินค้าให้เกษตรกรภายใน 3 วัน (ใบประทวน คือเอกสารที่นำไปยื่นที่ ธ.ก.ส.) -รายงานผลให้ฝ่ายเลขานุการฯทราบ เกษตรอำเภอ ขึ้นทะเบียนเกษตรกร ออกหนังสือรับรองเกษตรกร โรงสี (วางค้ำประกัน 50%) -จัดเก็บข้าวเปลือกที่จำนำโดยการเก็บต้องแยกระหว่างข้าวที่รับจำนำ กับข้าวของโรงสีให้ชัดเจน และติดป้ายชื่อ เพื่อป้องกันการปลอมปนข้าว -ดำเนินการสีแปรสภาพข้าวทุก 10 วัน ในอัตรา 100% ของปริมาณข้าวที่รับจำนำ ณ วันสั่งสี -ส่งมอบข้าวที่สีแปรสภาพข้าวแล้ว เข้าโกดังกลาง ตามที่ อคส. กำหนด ส่งมอบ ข้าวเปลือก เกษตรกร (ที่มีหนังสือรับรองเกษตรกร) -นำหนังสือรับรองเกษตรกร -เอกสารหลักฐาน การเป็นลูกค้า ธ.ก.ส. -ข้าวเปลือกของตนเอง ใบประทวนสินค้า เกษตรกร ลานรับซื้อที่เป็นจุดจำนำนอกพื้นที่ (วางค้ำประกัน 100%) -จัดเก็บข้าวเปลือกที่จำนำโดยการเก็บต้องแยกระหว่างข้าวที่รับจำนำ กับข้าวของผู้รับซื้อ -โรงสีที่เปิดจุดรับจำนำนอกพื้นที่ ต้องขนย้ายข้าวเปลือกที่รับจำนำไปเก็บ ณ สถานที่ตั้งของโรงสี ภายใน 2 วัน นำใบประทวนสินค้าไปจำนำ ธ.ก.ส. (รับจำนำใบประทวนสินค้า) -ตรวจสอบใบประทวนสินค้า -ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน -จัดทำสัญญาและจ่ายเงิน ภายใน 3 วัน (โอนเข้าบัญชีเกษตรกร) การกำกับดูแลจุดรับจำนำ -ตัวแทนเกษตรกร จำนวน 2 คน (คณะอนุฯ แต่งตั้ง) -ข้าราชการประจำจุด จำนวน 1 คน (คณะอนุฯ แต่งตั้ง) -ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ อคส. จำนวน 2 คน (ได้ค่าตอบแทน วันละ 300 บาท)
3
สาระการประชุมเชิงปฏิบัติการและซักซ้อมความเข้าใจ
โครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55 ความเสี่ยง 1 2 3 4 ไม่ตรงข้อเท็จจริง ไม่ทันตามกำหนด ข้าวเปลือกคนอื่น ไม่มีข้าวเปลือก การชั่งน้ำหนักวัดความชื้นและสิ่งเจือปน การสีแปรสภาพและบรรจุกระสอบ การส่งมอบข้าวสารเข้าโกดังกลาง การรับมอบข้าว (ช้า) การตรวจสอบคุณภาพข้าวที่ส่งมอบ (เรียกค่าตรวจสอบ) การขึ้นทะเบียนเกษตรกร การใช้สิทธิของเกษตรกร โรงสี/ตลาดกลาง โกดังกลาง การกำกับดูแล กรมส่งเสริมการเกษตร คณะอนุกรรมการจังหวัด การกำกับดูแล อคส./อ.ต.ก. ธ.ก.ส. คณะอนุกรรมการจังหวัด การกำกับดูแล อคส./อ.ต.ก. ตัวแทนเกษตรกร,ตัวแทนราชการ คณะอนุกรรมการจังหวัด การกำกับดูแล อคส./อ.ต.ก. คณะอนุกรรมการจังหวัด คณะทำงานตรวจสอบ เซอเวเยอร์ การตรวจสอบป้องกันและปราบปราม คณะอนุกรรมการจังหวัด สายตรวจเฉพาะกิจ การตรวจสอบป้องกัน และปราบปราม คณะอนุกรรมการจังหวัด สายตรวจเฉพาะกิจ การตรวจสอบป้องกันและปราบปราม คณะอนุกรรมการจังหวัด สายตรวจเฉพาะกิจ การตรวจสอบป้องกันและปราบปราม คณะอนุกรรมการจังหวัด สายตรวจเฉพาะกิจ สาระปรุชม-VC-D67
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.