งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มราคาไฟฟ้าและคุณภาพบริการ (รฟ.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มราคาไฟฟ้าและคุณภาพบริการ (รฟ.)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มราคาไฟฟ้าและคุณภาพบริการ (รฟ.)
อัตราค่าไฟฟ้า กลุ่มราคาไฟฟ้าและคุณภาพบริการ (รฟ.) สำนักนโยบายไฟฟ้า

2 ตัวอย่างใบแจ้งค่าไฟฟ้า ของ กฟน. บ้านอยู่อาศัยประเภท 1. 1 ประจำเดือน ก
ตัวอย่างใบแจ้งค่าไฟฟ้า ของ กฟน. บ้านอยู่อาศัยประเภท 1.1 ประจำเดือน ก.ค.51 เลขอ่านครั้งหลัง – เลขอ่านครั้งก่อน = = 139 หน่วย เลขอ่านครั้งก่อน เลขอ่านครั้งหลัง Ft งวด มิ.ย ก.ย.51 = บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าฐาน = /139 = บาท/หน่วย ค่า Ft = x 139 = บาท ค่าไฟฟ้ารวมทั้งหมด = 339/139 = บาท/หน่วย

3 จำแนกค่าไฟฟ้า 1 หน่วย ตามใบแจ้งค่าไฟฟ้า
07/08/07 0.1836 VAT 0.1602 Ft Ft 0.6285 0.4683 Ft คงที่ 1.9953 ค่าไฟฟ้ารวม 2.8074 ค่าไฟฟ้าฐาน 3 System control and operation division, Electricity Generating Authority of Thailand 3

4 การกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
17 ต.ค : กพช. เห็นชอบข้อเสนอโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายส่ง โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก สูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ โดยให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2548 เป็นต้นไป ค่าไฟฟ้าที่การไฟฟ้าเรียกเก็บจากผู้ใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันมีองค์ประกอบ ดังนี้ ค่าไฟฟ้า ค่าไฟฟ้าฐาน ภาษีมูลค่าเพิ่ม ค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) จะสะท้อนถึงต้นทุนในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ระบบสายส่ง สายจำหน่าย และการผลิตพลังงานไฟฟ้า ภายใต้สมมติฐานความต้องการใช้ไฟฟ้า ราคาเชื้อเพลิง อัตราแลกเปลี่ยน และอัตราเงินเฟ้อในระดับหนึ่ง โดยค่าไฟฟ้าฐานจะมีการทบทวนทุก 3-5 ปี ร้อยละ 7 ของมูลค่าไฟฟ้ารวม คำนวณจาก ค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิง ค่าซื้อไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปจากค่าไฟฟ้าฐาน

5 ค่าไฟฟ้าฐาน

6 ประเภทอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2548
1.1 บ้านอยู่อาศัยขนาดเล็ก ( Energy < 150 kWh/M) 1.2 บ้านอยู่อาศัยขนาดใหญ่ ( Energy> 150 kWh/M) อัตราค่าไฟฟ้าแบบก้าวหน้าและ แบบตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU 1) แบบไม่มี Demand Charge 2. กิจการขนาดเล็ก ( Demand < 30 kW) อัตราค่าไฟฟ้าแบบก้าวหน้าและ TOU 1 3. กิจการขนาดกลาง ( 30 < Demand< 1,000 kW) ( Energy < 250,000 kWh/M) อัตราค่าไฟฟ้าแบบปกติ (Two-part) และ TOU 2 ที่มี Demand Charge 4. กิจการขนาดใหญ่ ( Demand > 1,000 kW) ( Energy > 250,000 kWh/M) อัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาของวัน (TOD) และ TOU 2 5. กิจการเฉพาะอย่าง ( Demand > 30 kW) อัตราค่าไฟฟ้าแบบปกติและ TOU 2 6. ส่วนราชการและองค์กรไม่แสวงหากำไร ( Energy < 250,000 kWh/M) อัตราค่าไฟฟ้าแบบก้าวหน้าและ TOU 2 7. การสูบน้ำเพื่อการเกษตร อัตราค่าไฟฟ้าแบบก้าวหน้าและ TOU 2

7 ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ
การปรับอัตรา ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ

8 คณะอนุกรรมการกำกับดูแล อัตราค่าพลังงานและค่าบริการ
ขั้นตอนการอนุมัติค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราการปรับค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ค่า Ft) อนุมัติค่า Ft รับฟังความเห็นจากผู้ใช้ไฟฟ้า พิจารณา เห็นชอบให้ประกาศ คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) เสนอ กกพ. พิจารณา ตรวจสอบ กลั่นกรอง การคำนวณค่า Ft คณะอนุกรรมการกำกับดูแล อัตราค่าพลังงานและค่าบริการ - เสนอเลขาธิการ สกพ. กฟผ. จัดทำประมาณการค่า Ft

9 ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ค่า Ft)
ค่า Ft (Fuel Adjustment Charge  (at the given time) คือ ค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ ซึ่งคำนวณจากค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปจากค่าไฟฟ้าฐาน สูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ Ft เรียกเก็บ = Ft คงที่ + ΔFt Ft คงที่ = ค่า Ft ที่เรียกเก็บในเดือนมิ.ย. – ก.ย. 48 เท่ากับ สตางค์/หน่วย ΔFtG = การเปลี่ยนแปลงของค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้าของกิจการผลิตที่เปลี่ยนแปลงจากค่า Ft คงที่ ณ ระดับ สตางค์/หน่วย

10 การส่งผ่านค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐ
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน 19 มิ.ย. 2550:ครม. เห็นชอบการจัดตั้งกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า โดยกำหนด ให้โรงไฟฟ้า ≥ 6 Mw จ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2550 เป็นต้นไป 4 ธ.ค และ 2 ก.พ : กพช. เห็นชอบการกำหนดส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP พลังงานหมุนเวียน 4 มิ.ย. 2550: กพช. เห็นชอบอัตราส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า VSPP พลังงานหมุนเวียนสำหรับ 3 จ.ชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส) ให้สูงกว่าพื้นที่อื่นเป็นกรณีเฉพาะ เพื่อเพิ่มแรงจูงใจในการลงทุนจากภาคเอกชน ทั้งนี้ โรงไฟฟ้าใหม่ตามนโยบายการรับซื้อไฟฟ้า IPP ให้กำหนดเป็นเงื่อนไขในประกาศเชิญชวนการรับซื้อไฟฟ้า SPP/VSPP ให้บวกเพิ่มจากราคาซื้อขายไฟฟ้าตามระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า หมายเหตุ : พลังงานลมปรับส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจากเดิม 2.5 บาท/หน่วย เป็น 3.5 บาท/หน่วย ตามมติ กพช. เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550

11 การเปลี่ยนแปลงของค่าเอฟที
บาทต่อหน่วย เดือน

12 ราคาเชื้อเพลิงฐาน ต.ค.43 ต.ค.48 และปัจจุบัน

13 ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ก.ย.52- ธ.ค.52 ประมาณ 3.1719 บาท/หน่วย
07/08/07 จำแนกต้นทุนค่าไฟฟ้า ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ก.ย.52- ธ.ค.52 ประมาณ บาท/หน่วย Ft 0.4572 Ft ข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงจากค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้าฐาน Ft สูตรปัจจุบัน ตั้งแต่ ต.ค.48 0.4683 Ft คงที่ ยก ฐานขึ้น ส่วนที่ 2 ต้นทุนเชื้อเพลิง ณ วันที่กำหนดค่าไฟฟ้าฐาน ต.ค.48 ค่าเชื้อเพลิง และค่าซื้อไฟฟ้าฐาน ราคาน้ำมันเตา บาท/ลิตร ราคาน้ำมันดีเซล บาท/ลิตร ราคาก๊าซ อ่าวไทยและพม่า บาท/ล้านบีทียู น้ำพอง บาท/ล้านบีทียู ลานกระบือ บาท/ล้านบีทียู 2.2464 ส่วนที่ 1 ค่าลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้า ระบบส่ง ระบบจำหน่าย ค่าบำรุงรักษา & ค่าบริหาร (OM&A) ผลตอบแทนการลงทุน 13 System control and operation division, Electricity Generating Authority of Thailand 13

14 การคิดหน่วยการใช้ไฟฟ้าด้วยตนเอง ?
การคิดหน่วยการใช้ไฟฟ้าด้วยตนเอง ?

15 หน่วยการใช้ไฟฟ้าต่อเดือน
การใช้ไฟฟ้า 1 หน่วยหรือ 1 ยูนิตคือ เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาด 1,000 W ใช้งานใน 1 hr จำนวนหน่วยหรือยูนิต = กำลังไฟฟ้า (วัตต์)  x จำนวนเครื่องใช้ไฟฟ้า ÷ 1000 x จำนวนชั่วโมงที่ใช้งานใน 1 วัน  จำนวน เปิดวันละ วันละ (หน่วย) เดือนละ (หน่วย) มีหลอดไฟฟ้าขนาด 40w (รวมบัลลาสต์อีก 10 w เป็น 50 w) 10 ดวง 6 hr 50x10÷1,000x6 = 3 (30x3)=90 หม้อหุงข้าว ขนาด 600 w 1 ใบ 30 min 600x1÷1000x0.5=0.3 (30x0.3)=9 ตู้เย็น 6.3 คิว ขนาด 63 w คอมเพรสเซอร์ทำงาน 8 hr 1 ตู้ 24 hr 63x1÷1000x8= 0.5 (30x0.5)= 15 เครื่องปรับอากาศ 9,000 BTU 880 w คอมเพรสเซอร์ทำงานวันละ 8 hr 1 เครื่อง 12 hr 880x1÷1000x8= 7.04 (30x10.4)= 211.2 เตารีดไฟฟ้า ขนาด 800 w 1 hr 800x1÷1000x1 = 0.8 (30x0.8)= 24 ทีวีสีขนาด 100 w 3 hr 100x1 ÷1000x3 = 0.3 (30x0.3) = 9 เตาไมโครเวฟ ขนาด 1,200 w 1,200x1 ÷1000x0.5 = 0.6 (30x0.6) = 18 การใช้ไฟฟ้าทั้งเดือน 376.20

16 อัตราค่าไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย
สำหรับการใช้ไฟฟ้าในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย วัดและโบสถ์ของศาสนาต่างๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง 1.2 การใช้ไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วย/เดือน ค่าพลังงานไฟฟ้า หน่วยที่ บาท 1-150 (150 หน่วยแรก) หน่วยละ 2.2734 (250 หน่วยต่อไป) 2.7781 ตั้งแต่ 401 เป็นต้นไป 2.9780 ค่าบริการ เดือนละ 8.19 1.1 การใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วย/เดือน ค่าพลังงานไฟฟ้า หน่วยที่ บาท 1-5 (5 หน่วยแรก) เป็นเงิน 0.00 6-15 (10 หน่วยต่อไป) หน่วยละ 1.3576 16-25 (10 หน่วยต่อไป) 1.5445 26-35 (10 หน่วยต่อไป) 1.7968 (65 หน่วยต่อไป) 2.1800 (50 หน่วยต่อไป) 2.2734 (250 หน่วยต่อไป) 2.7781 ตั้งแต่ 401 เป็นต้นไป 2.9780 ค่าบริการ เดือนละ 8.19 1.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU) ระดับแรงดัน ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน Peak Off-Peak 12-24 kV 3.6246 1.1914 228.17 ต่ำกว่า 12 kV 4.3093 1.2246 57.95 Peak : น. ของวันจันทร์-วันศุกร์ Off-Peak : – น. ของวันจันทร์-วันศุกร์ วันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุดราชการปกติทั้งวัน

17 ข้อมูลสนับสนุน

18 การเปลี่ยนแปลงของค่าเอฟที
เดือน

19 สถานภาพการดำเนินงานของกองทุนฯ
19

20 สถิติค่า Ft และราคาค่าไฟฟ้าขายปลีก ต.ค.48-ส.ค.52
20

21 ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ค่า Ft)
สูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ Ft เรียกเก็บ = Ft คงที่ + ΔFtG Ft คงที่ = ค่า Ft ที่เรียกเก็บในเดือนมิ.ย. – ก.ย. 48 เท่ากับ สตางค์/หน่วย ΔFtG = การเปลี่ยนแปลงของค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้าของกิจการผลิตที่เปลี่ยนแปลงจากค่า Ft คงที่ ณ ระดับ สตางค์/หน่วย ΔFtG = FACtG + AFt-1G FACts = AFCtG – BFCG FACtG= ประมาณการค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้าและการส่งผ่านค่าใช้จ่ายตามที่นโยบายของรัฐกำหนด ในเดือน t ที่เปลี่ยนแปลงจากที่ใช้ในการคำนวณค่า Ft คงที่ ณ ระดับ สตางค์/หน่วย AFt-1G= ค่าสะสมที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างค่า Ft ที่คำนวณได้กับค่า Ft ที่เรียกเก็บจริงของกิจการผลิตในเดือน t-1 FACtG = ประมาณการค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้าในเดือน t ที่เปลี่ยนแปลงจากที่ใช้ในการคำนวณค่า Ft คงที่ ณ ระดับ สตางค์/หน่วย AFCtG = ค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้าเฉลี่ยต่อหน่วยที่เกิดขึ้นจริงในเดือน t BFCG = ค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้าเฉลี่ยที่สอดคล้องกับค่า Ft ณ ระดับ สตางค์/หน่วย ในเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม 2548 เท่ากับ บาท/หน่วย

22 สูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ก่อน ต.ค. 2548)
สูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ก่อน ต.ค. 2548) Ft = FAC + FX + NF + MR + DC + AF Ft คือ ค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ FAC คือ ค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิง และค่าซื้อไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปจากค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้าฐานในการกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า FX คือ ผลกระทบอัตราแลกเปลี่ยนในการชำระคืนเงินกู้และดอกเบี้ยต่างประเทศของการไฟฟ้า NF คือ การเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานในส่วนที่ไม่ใช่ค่าเชื้อเพลิงปรับตามอัตราเงินเฟ้อและหน่วยจำหน่าย MR คือ การปรับลดแผนการลงทุนของการไฟฟ้าทั้ง ๓ แห่ง จำนวน ๗ สตางค์/หน่วย DC และ AF คือ การปรับปรุงจำนวนเงินของค่า Ft ที่คำนวณได้และค่า Ft ที่เรียกเก็บจริง

23 ∆Ft พ.ค.52-ส.ค.52 กกพ. อนุมัติ 45.72 สตางค์/หน่วย

24 ปัจจัยที่มีผลต่อค่า Ft
ประมาณการหน่วยขาย สัดส่วนการผลิตและซื้อแยกตามเชื้อเพลิง ประมาณการอัตราแลกเปลี่ยน ประมาณการราคาเชื้อเพลิง ประมาณการค่าซื้อไฟฟ้า

25 สมมุติฐานในการประมาณการ ค่า ∆Ft
กกพ. 12 ม.ค.52 ชุด Ft พ.ค.52-ส.ค.52 แผน จริง 1. FX (บาท/USD) 35.0 35.5 2. ราคาเชื้อเพลิง ราคาน้ำมันเตา FO 3.5%S (USD/BBL) อัตราค่าผ่านท่อ Tdc Tcc รวม (บาท/ล้านบีทียู) 39.2 – 41.5 เฉลี่ย 40.46 0.3418 39.5 – 45.4 เฉลี่ย 41.75 (ตั้งแต่ เม.ย.52) 1.1112 45.4 – 53.0 เฉลี่ย 47.48 3. GDP 2552 4. Load Growth ปี 2552 ม.ค.-เม.ย.52 พ.ค.-ส.ค.52 +2.0% +2.19% -0.65% +1.83% -5.3% -4.25% (3+9) -6.05% -5.78% 25

26 ต้นทุนการผลิตจากเชื้อเพลิงต่างๆ (ไม่รวม AP)
28 บาท/ลิตร 0.25 ลิตร/หน่วย 230 บาท/ล้านบีทียู 8,000 บีทียู/หน่วย 7.0 569.7 บาท/ตัน 0.9 กิโลกรัม/หน่วย 5.0 20 บาท/ลิตร 0.25 ลิตร/หน่วย ต้นทุนเชื้อเพลิงเฉลี่ย 2,200 บาท/ตัน 0.4 กิโลกรัม/หน่วย 1.8 0.8 0.5 พลังน้ำ ก๊าซ ลิกไนต์ ถ่านหิน นำเข้า น้ำมัน เตา น้ำมัน ดีเซล

27 ผลของการตรึงค่า Ft 1 สตางค์/หน่วย
หน่วยขายปลีกเดือนละประมาณ 11,000 ล้านหน่วย เป็นเงิน ล้านบาท หน่วยขายปลีก 1 งวด ประมาณ 45,000 ล้านหน่วย เป็นเงิน ล้านบาท ผลของหน่วยขายไฟฟ้า หน่วยขาย +1.0% ทำให้ Ft หน่วยขาย -1.0% ทำให้ Ft FAC 0.5238 0.5186 0.5291 ขึ้นกับสัดส่วน การผลิต ที่เพิ่มขึ้น (สมมุติว่าผลิตจากพลังน้ำ) 22,000 ล้านบาท 22,000 ล้านบาท 22,000 ล้านบาท 42,000 ล้านหน่วย 42,420 ล้านหน่วย 41,580 ล้านหน่วย -1.00% +1.00%

28 ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน
FX +1 บาท/USD Fuel/EP CP/AP ราคาก๊าซ +2 ถึง +8 บาท/ล้านบีทียู ราคาถ่านหินนำเข้า +64 บาท/ตัน ค่าซื้อไฟฟ้า +280 ล้านบาท Ft +2.4 Ft +0.6 ผลกระทบต่อค่า Ft +3 สตางค์/หน่วย

29 ราคาค่าไฟฟ้าเฉลี่ยรวมทุกประเภท (ไม่รวม VAT)
07/08/07 ราคาค่าไฟฟ้าเฉลี่ยรวมทุกประเภท (ไม่รวม VAT) ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย พ.ค.52- ส.ค.52 ประมาณ บาท/หน่วย 0.4572 Ft Ft ข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงจากค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้าฐาน Ft สูตรปัจจุบัน ตั้งแต่ ต.ค.48 0.4683 ข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงจากฐาน Ft สูตรเดิม ต.ค.43 ที่เรียกเก็บในงวด มิ.ย.48-ก.ย.48 BFC ต.ค.48 Ft คงที่ 2.2464 ส่วนที่ 2 ณ วันที่กำหนดค่าไฟฟ้าฐานเดิม ต.ค.43 ค่าเชื้อเพลิง และค่าซื้อไฟฟ้าฐาน ราคาน้ำมันเตา บาท/ลิตร ราคาน้ำมันดีเซล บาท/ลิตร ราคาก๊าซ อ่าวไทยและพม่า บาท/ล้านบีทียู น้ำพอง บาท/ล้านบีทียู ลานกระบือ บาท/ล้านบีทียู BFC ต.ค.43 ส่วนที่ 1 ค่าลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้า ระบบส่ง ระบบจำหน่าย ค่าบำรุงรักษา & ค่าบริหาร (OM&A) ผลตอบแทนการลงทุน 29 BFC: Base Fuel Cost System control and operation division, Electricity Generating Authority of Thailand 29

30 ราคาเชื้อเพลิงฐาน ต.ค.43 และ ต.ค.48
BFC ต.ค.43 BFC ต.ค.48

31 Ft คงที่ และ BFC ต.ค.48 มาจากค่า Ft เรียกเก็บงวด มิ.ย.48-ก.ย.48

32 ราคาน้ำมันเตา กับ ราคาก๊าซธรรมชาติ ปี 2548-2551
ราคาน้ำมันเตา กับ ราคาก๊าซธรรมชาติ ปี สูตรการคำนวณราคาก๊าซธรรมชาติ จะอ้างอิงราคาน้ำมันเตาเฉลี่ยย้อนหลัง 6-12 เดือน ดังนั้นช่วงที่น้ำมันมีราคาแพงจึงยังส่งผลต่อราคาก๊าซไม่เต็มที่ ปี 2551 มีการบริหารค่า Ft 9,380 ล้านบาท หารหน่วยขายปลีก 133, ล้านหน่วย (11+1 เดือน) เท่ากับ สตางค์/หน่วย หากไม่ลดค่าไฟฟ้าจะเท่ากับ 3.00 บาท/หน่วย เงินบริหารฯ ปี 2551 มี 2 งวดคือ 1) เงินปรับลดการลงทุน จำนวน 5,082 ล้านบาท และ 2) เงิน TOP2551+ Short Fall อาทิตย์ รวม 4,298 ล้านบาท ปี 2552 งวด ม.ค.52-เม.ย.52 มีภาระอีก 1,036 ล้านบาท หารด้วยหน่วยขายปลีก 43, ล้านหน่วย เท่ากับ สตางค์/หน่วย หากไม่ลดค่าไฟฟ้าจะเท่ากับ 3.20 บาท/หน่วย

33 การผลิต ซื้อไฟฟ้า และการจำหน่ายไฟฟ้า

34 วัตถุประสงค์การกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
1 2 3 4 ให้อัตราค่าไฟฟ้า สะท้อนถึงต้นทุน ทางเศรษฐศาสตร์ มากที่สุด และเพื่อ ส่งเสริมให้มีการ ใช้ไฟฟ้าอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะส่งเสริม ให้มีการใช้ไฟฟ้า น้อยลงในช่วงที่มี การใช้ไฟฟ้าสูงสุด ของระบบไฟฟ้า (Peak) ซึ่งจะช่วย ลดการลงทุนใน การผลิตและการ จัดจำหน่ายไฟฟ้า ได้ในระยะยาว ให้การไฟฟ้าทั้ง 3 แห่ง มีฐานะการเงินที่มั่นคงและสามารถขยายการดำเนินงานในอนาคตได้อย่างเพียงพอ ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ใช้ไฟประเภทต่างๆ มากขึ้น โดยการลดการอุดหนุนค่าไฟฟ้าจากผู้ใช้ไฟกลุ่มหนึ่ง โดยผู้ใช้ไฟฟ้าอีกกลุ่ม (cross subsidy) ให้การปรับอัตราค่าไฟฟ้ามีความคล่องตัว และเป็นไปโดยอัตโนมัติสอดคล้องกับราคาเชื้อเพลิงที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะตลาดที่มีการแข่งขันมากขึ้น

35 โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า ประกอบด้วย โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าฐาน ค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ค่าเอฟที) โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ระดับ โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายส่ง: - กฟผ. จำหน่ายให้ กฟน. และ กฟภ. โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก: กฟน. และ กฟภ. จำหน่ายให้ผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วประเทศ ประมาณ 17 ล้านราย กฟผ. จำหน่ายให้ลูกค้าตรงของ กฟผ. ประมาณ 10 ราย โครงสร้างขายส่ง โครงสร้างขายปลีก - มีลักษณะเป็นอัตราที่แตกต่างกันตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU) โดยปรับลดราคาขายส่งตั้งแต่ ต.ค. ๒๕๔๘ จากช่วงก่อนหน้าจำนวน 6.11 สต./หน่วย หรือ –3.54% - จำแนกผู้ใช้ไฟฟ้าเป็น ๗ ประเภทหลัก - อัตราค่าไฟฟ้าขายปลีกไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากเดือนตุลาคม ๒๕๔๓ แต่มีการปรับปรุงการกำหนดวันแรงงานเป็นวันหยุด ราชการแทนวันพืชมงคลในการคำนวณอัตรา TOU - กำหนดให้มีการชดเชยรายได้จาก กฟน. ไปยัง กฟภ. เพื่อชดเชยต้นทุนการจำหน่ายไฟฟ้าในเขต กฟภ. ที่สูงกว่า กฟน. มาก

36 หลักเกณฑ์ในการกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
หลักเกณฑ์ต้นทุนหน่วยสุดท้าย (Marginal Cost) ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการปรับระบบการผลิตและจัดจำหน่ายไฟฟ้าที่เหมาะสมที่สุด เพื่อสนองตอบความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 1 หน่วย ลักษณะการใช้ไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟ (Load Pattern) ลักษณะการใช้ไฟฟ้าของประเทศตั้งแต่ปี 2543 การใช้ไฟฟ้าสูงสุดในช่วงเวลา น. ของวันจันทร์ – ศุกร์ (Peak Period) การใช้ไฟฟ้าน้อยในช่วงเวลา น. ของวันจันทร์ – ศุกร์ และวันเสาร์ วันอาทิตย์ และ วันหยุดราชการทั้งวัน (Off-Peak Period) ความต้องการรายได้ของการไฟฟ้าและหลักเกณฑ์ทางการเงิน โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าที่กำหนดจะต้องทำให้การไฟฟ้าทั้ง ๓ แห่ง มีรายได้ที่เพียงพอ มั่นคง สามารถขยายการดำเนินงานในอนาคตได้ หลักเกณฑ์ทางสังคมในการกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า ข้อกำหนดทางการเมืองและสังคม

37 แนวทางการกำกับ การดำเนินงานของการไฟฟ้า
การปรับปรุงเงินชดเชยรายได้ระหว่างการไฟฟ้า : ภายในไตรมาสแรกของปีถัดไป ให้การไฟฟ้าทั้ง ๓ แห่ง จัดส่งฐานะการเงินที่เกิดขึ้นจริงให้ สนพ. หรือองค์กรกำกับดูแลที่จะจัดตั้งขึ้น คำนวณรายได้ที่พึงได้รับใหม่โดยพิจารณาถึงกรอบค่าใช้จ่ายการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ และคำนวณการชดเชยรายได้ใหม่ให้สอดคล้องกับรายได้ที่พึงได้รับและนำไปปรับปรุงรวมกับเงินชดเชยรายได้ในปีถัดไป ทั้งนี้ กำหนดค่าปรับกรณีการไฟฟ้าไม่จัดส่งข้อมูลภายในระยะเวลาที่กำหนดในอัตรา ๑ แสนบาท/วัน โดยให้นำเงินดังกล่าวมาลดค่าไฟฟ้าให้กับประชาชนผ่านสูตรเอฟที การกำกับการดำเนินงานตามแผนการลงทุนของการไฟฟ้า : หากการลงทุนของการไฟฟ้าไม่เป็นไปตามแผนการลงทุนที่ใช้ในการกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า ให้พิจารณานำค่าใช้จ่ายการลงทุนที่ไม่เป็นไปตามแผนพร้อมทั้งค่าปรับร้อยละ ๗.๒๕ มาปรับลดค่าไฟฟ้าให้กับผู้ใช้ไฟฟ้าผ่านสูตรเอฟที

38 โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าฐาน ค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ค่าFt) โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายส่ง เป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่แตกต่างกันตามช่วง เวลาของการใช้ กฟผ. จำหน่ายให้กับ กฟน. กฟผ. จำหน่ายให้กับ กฟภ. ค่าเอฟทีในระดับขายส่ง กฟผ. เรียกเก็บจาก กฟน. และ กฟภ. ภายใต้โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายส่งที่เท่ากันในขณะที่ต้นทุนในการจำหน่ายไฟฟ้าในเขต กฟภ. สูงกว่าในเขต กฟน. มาก จึงกำหนดให้มีการชดเชยรายได้ระหว่าง กฟน. ไปยัง กฟภ. ค่าเอฟทีในระดับขายปลีก กฟน. และ กฟภ. เรียกเก็บจากผู้ใช้ไฟฟ้า กฟผ. เรียกเก็บจากลูกค้าตรงของ กฟผ. โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก แบ่งประเภทผู้ใช้ไฟฟ้าออกเป็น ๗ ประเภทหลัก บ้านอยู่อาศัย กิจการขนาดเล็ก กิจการขนาดกลาง กิจการขนาดใหญ่ กิจการเฉพาะอย่าง (โรงแรม) ส่วนราชการและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร สูบน้ำเพื่อการเกษตร

39 ลักษณะการใช้ไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้า (Load Pattern)
การใช้ไฟฟ้าของประเทศตั้งแต่ปี ๒๕๔๓ เป็นต้นมา มีลักษณะดังนี้ (๑) การใช้ไฟฟ้าสูงสุดในช่วงเวลา ๐๙.๐๐-๒๒.๐๐ น. ของวันจันทร์ – ศุกร์ (Peak Period) (๒) การใช้ไฟฟ้าน้อยในช่วงเวลา ๒๒.๐๐-๐๙.๐๐ น. ของวันจันทร์ – ศุกร์ และวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุดราชการทั้งวัน (Off-Peak Period) มีการนำอัตราค่าไฟฟ้าที่แตกต่างกันตามช่วงเวลาของวัน (Time of Day Rate : TOD) และอัตราค่าไฟฟ้าที่แตกต่างกันตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Rate : TOU) มาใช้ในปี ๒๕๓๔ และ ๒๕๔๐ ตามลำดับ เพื่อให้โครงสร้างค่าไฟฟ้าสะท้อนถึงต้นทุนที่แท้จริง และส่งสัญญาณอย่างถูกต้องไปยังผู้ใช้ไฟฟ้า แต่เนื่องจากปัญหาในการติดตั้งมิเตอร์ที่มีราคาแพงทำให้ไม่สามารถบังคับใช้ได้ทั้งหมด ดังนั้น จึงจำเป็นต้องจัดกลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีลักษณะการใช้ไฟฟ้าคล้ายกันอยู่ในกลุ่มเดียวกัน โดยกำหนดอัตราค่าไฟฟ้าให้สะท้อนต้นทุนในการผลิตและการจัดจำหน่ายให้แก่ผู้ใช้ไฟฟ้ากลุ่มนั้นๆ มากที่สุด อัตราค่าไฟฟ้า

40 สถิติการผลิตไฟฟ้าในวันที่มีการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในรอบปี (ปี 2532-2550)
สถิติการผลิตไฟฟ้าในวันที่มีการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในรอบปี (ปี ) 22, MW 24 เมษายน 2550 2550 2549 2548 พลังไฟฟ้า (เมกะวัตต์) 2534 2533 2532 เวลา (ชั่วโมง)

41 ความต้องการรายได้ และหลักเกณฑ์ทางการเงิน
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าที่กำหนดทำให้การไฟฟ้าทั้ง ๓ แห่ง มีรายได้ที่เพียงพอ มั่นคง สามารถขยายการดำเนินงานในอนาคตได้ โดยมีระดับหลักเกณฑ์ทางการเงินตามที่กำหนด ระดับหลักเกณฑ์ทางการเงินในปี ๒๕๔๙-๒๕๕๑ การพิจารณาฐานะการเงินของการไฟฟ้าจะคำนึงถึงแผนการลงทุนและประสิทธิภาพในการดำเนินงานที่เหมาะสม โดยในการปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานของการไฟฟ้า กำหนดให้มีการนำ (๑) ค่าสัมประสิทธิความยืดหยุ่นของต้นทุนต่อปริมาณ (Cost Volume Elasticity: CVE) เท่ากับ ๐.๘ มาใช้ กล่าวคือ การจำหน่ายไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น ๑ หน่วย จะให้ส่งผ่านต้นทุนในส่วนที่เพิ่มขึ้นได้เพียง ๐.๘ ของต้นทุนต่อหน่วย (๒) หลักการ CPI-X โดยกำหนดค่าตัวประกอบการปรับปรุงประสิทธิภาพ (ค่า X factor) สำหรับกิจการผลิต กิจการระบบส่ง และกิจการระบบจำหน่ายและค้าปลีกไฟฟ้า ในอัตราร้อยละ ๕.๘ ๒.๖ และ ๕.๑ ต่อปี ตามลำดับ

42 หลักเกณฑ์ทางสังคม ในการกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
ข้อกำหนดทางการเมืองและสังคมที่สำคัญ มีดังนี้ (๑) กำหนดให้อัตราค่าไฟฟ้าสำหรับผู้ใช้ไฟประเภทเดียวกันเท่ากันทั่วประเทศ (National Uniform Tariff) (๒) กำหนดให้มีการอุดหนุนอัตราค่าไฟฟ้าของกลุ่มผู้ใช้ไฟประเภทบ้านอยู่อาศัย โดยเฉพาะบ้านอยู่อาศัยที่ใช้ไฟฟ้าน้อย (๓) โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟกลุ่มอื่นๆ กำหนดให้ใกล้เคียงกับต้นทุนหน่วยสุดท้ายมากที่สุด

43 สัดส่วนการผลิตและซื้อไฟฟ้า ปี 2551
Gas 69.93% รวมทั้งหมด 148,240 GWh %


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มราคาไฟฟ้าและคุณภาพบริการ (รฟ.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google