ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
2
การปรับปรุงกระบวนการ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
กระบวนการที่สร้างคุณค่า การจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ (PDP 2010) กระบวนการสนับสนุน การรวบรวมข้อมูลพลังงานของประเทศ
3
รายละเอียดของกระบวนการสร้างคุณค่า
ความสำคัญของ กระบวนการจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ (PDP 2010) จากนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงพลังงานในการจัดทำแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าฉบับใหม่ หรือ PDP 2010 ในช่วง 20 ปี (ปี ) เพื่อสร้างความชัดเจนในการจัดหาไฟฟ้าของประเทศในระยะยาว กระตุ้นการลงทุนด้านพลังงาน และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการขยายกำลังการผลิตไฟฟ้าในอนาคต สนพ. ในฐานะหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบในการเสนอแนะนโยบายและแผนพลังงานของประเทศ มีหน้าที่ในการติดตามและปรับปรุงกระบวนการจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ เพื่อให้การจัดหาพลังงานไฟฟ้าของประเทศ มีความเพียงพอ เหมาะสมกับความต้องการในราคาที่เป็นธรรม สอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป กลุ่มผู้รับบริการ ประชาชน : มีไฟฟ้าใช้อย่างเพียงพอ/ทั่วถึง ในราคาที่เหมาะสม และ ระบบไฟฟ้ามีความเชื่อถือได้ (ไฟฟ้าไม่ตก/ไม่ดับ) บมจ.ปตท : นำแผน PDP ไปเป็นกรอบในการจัดหาก๊าซธรรมชาติให้กับ โรงไฟฟ้า กฟผ : นำแผนไปเป็นกรอบในการจัดหาไฟฟ้าให้เพียงพอกับความ ต้องการของประเทศ
4
รายละเอียดของกระบวนการก่อนปรับปรุง
ผลลัพธ์ของกระบวนการ การดำเนินงานตามแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้า หรือ PDP 2007 ตัวชี้วัดภายในกระบวนการ และค่าเป้าหมาย ร้อยละของความสำเร็จของการดำเนินการ/ทบทวน แผน PDP ที่ผ่านความเห็นชอบ จากคณะอนุกรรมการพัฒนาปรับปรุงแผนกำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ และนำเสนอ กพช. และ ครม. ค่าเป้าหมาย : 100 % ตัวชี้วัดผลสำเร็จของกระบวนการ และค่าเป้าหมาย การนำเสนอแผน PDP ต่อ กพช. และ ครม. เห็นชอบ ค่าเป้าหมาย : 100 % - 4 -
5
4 เดือน 1 เดือน 1 เดือน 1 เดือน ร่างแผน PDP
ขอบเขตของกระบวนการที่ดำเนินการก่อนปรับปรุง เริ่มต้น คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ 1 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4 เดือน ศึกษา และ วิเคราะห์ข้อมูล นักวิชาการ, ผู้เชี่ยวชาญฯ จัดประชุมทางเลือกการใช้เชื้อเพลิงฯ 1 สัปดาห์ หน่วยงานราชการ, รัฐวิสาหกิจ ,เอกชน นักวิชาการ, NGO ผู้สนใจทั่วไป สื่อต่าง ๆ รับฟังความคิดเห็นด้านสมมติฐานแผน PDP 1 สัปดาห์ ร่างแผน PDP ประชุมคณะอนุกรรมการฯ เพื่อพิจารณา 1 เดือน เห็นชอบ สนพ. เตรียมประชุมนำเสนอแผน 1 สัปดาห์ แก้ไข/ปรับปรุง/ ทบทวน กพช./ครม. 1 เดือน เห็นชอบ 1 เดือน สิ้นสุดกระบวนการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำแผน PDP ไปดำเนินการ
6
ประเด็นของการปรับปรุงกระบวนการ
ประเด็นสำคัญของปัญหา หรือเงื่อนไขสถานการณ์ที่นำมาซึ่งการปรับปรุงกระบวนการ การปรับปรุงแผน PDP เพื่อให้สอดคล้องกับค่าพยากรณ์ฯ ตามสภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวปลายปี 2551 การสำรองไฟฟ้าอยู่ในระดับที่เหมาะสม และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคการผลิตไฟฟ้าตามนโยบายการลดภาวะโลกร้อน รวมทั้ง การจัดทำแผน PDP ที่ผ่านมา ไม่มีการรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่ได้รับผลกระทบ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งขัดกับหลักธรรมาภิบาล และกฎหมายรัฐธรรมนูญที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนหรือผู้ที่ได้รับผลกระทบมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในการจัดทำแผน PDP ของประเทศ แนวคิด เครื่องมือที่ใช้ในการปรับปรุงกระบวนการ การเพิ่มขั้นตอน 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ระดับบริหารงาน การเพิ่มขั้นตอนการพิจารณากลั่นกรองรายละเอียดของวาระ/ข้อมูลของแผน PDP โดยคณะอนุกรรมการพิจารณาปรับปรุงแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งนักวิชาการ และผู้ประกอบการ เป็นต้น 2. การรับฟังความคิดเห็นแผน PDP การเพิ่มช่องทางการรับฟังความคิดเห็น ทุกกลุ่มและแบบเปิดกว้าง ซึ่งที่ผ่านมาได้จัดรับฟังความคิดเห็นเฉพาะในส่วนกลาง 3. ติดตามและประเมินผลตามแผน PDP เพื่อจะได้ทราบความก้าวหน้าผลการดำเนินการตามแผน และเพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการในปีต่อไป - 6 -
7
ร่างแผน PDP ขอบเขตของกระบวนการที่ดำเนินการหลังปรับปรุง 1 2 3
คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ เริ่มต้น 1 สัปดาห์ 1 รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4 เดือน ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นักวิชาการ และผู้ประกอบการ หน่วยงานราชการ, รัฐวิสาหกิจ , เอกชน, นักวิชาการ, NGO, ผู้สนใจทั่วไป, สื่อแขนงต่าง ๆ, ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ศึกษา และ วิเคราะห์ข้อมูล นักวิชาการ, ผู้เชี่ยวชาญฯ จัดประชุมทางเลือกการใช้เชื้อเพลิงฯ 1 สัปดาห์ หน่วยงานราชการ,นักวิชาการ,รัฐวิสาหกิจ, เอกชน , NGO, ผู้สนใจทั่วไป, สื่อต่าง ๆ รับฟังความคิดเห็นด้านสมมติฐานแผน PDP 1 สัปดาห์ สัมมนารับฟังความ คิดเห็นร่างแผน PDP ร่างแผน PDP 2 ปตท. จัดทำแผนการ จัดหาก๊าซธรรมชาติ สนพ. ศึกษา ทบทวน อัตราส่วนเพิ่มราคา รับซื้อไฟฟ้า (Adder) คณะอนุกรรมการฯ เพื่อพิจารณา เพิ่มเติม/ปรับปรุง 2 เดือน เห็นชอบ สนพ. นำเสนอแผน PDP ต่อ กพช. และ ครม. 1 สัปดาห์ 3 เพิ่มเติม กพช. 2 เดือน เห็นชอบ ครม. เห็นชอบแผน PDP 2 เดือน สิ้นสุดกระบวนการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำแผน PDP ไปดำเนินการตามแผนฯ - 7 -
8
การปรับปรุงกระบวนการ
ผลลัพธ์ที่ดีขึ้นจากการปรับปรุง กระบวนการ ได้แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ PDP ที่มีประสิทธิภาพ มีความสมบูรณ์ โปร่งใส จากการพิจารณากลั่นกรองของคณะอนุกรรมการฯ และเป็นที่ยอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้อทุกภาคส่วน ที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ซึ่งจะส่งผลให้การจัดหาแผน PDP มีความสอดคล้องกับความต้องการไฟฟ้าของประเทศ ในราคาที่เป็นธรรม สอดคล้องกับนโยบายด้านเศรษฐกิจ และเป็นไปตามนโยบายการลดภาวะโลกร้อน ตัวชี้วัดภายในกระบวนการ และค่าเป้าหมาย ร้อยละของความสำเร็จของการจัดทำแผน PDP ที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพัฒนาปรับปรุงแผนกำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ และผ่านกระบวนการรับฟังความคิดเห็นต่อร่างแผน PDP ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย - มีค่าเป้าหมาย 100% ตัวชี้วัดผลสำเร็จของกระบวนการ และค่าเป้าหมาย การมีส่วนร่วมในการจัดทำร่างแผน PDP 2010 ทุกกลุ่มเป้าหมาย กพช. และ ครม. ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ (PDP 2010) ภายในเวลาที่กำหนด (มีนาคม 2553) มีค่าเป้าหมาย 100% - 8 -
9
สรุปบทเรียน ปัญหา/อุปสรรคในการปรับปรุงกระบวนการ
นโยบายด้านการเมืองที่มีความไม่แน่นอน ทำให้ไม่สามารถดำเนินการตามกระบวนงานที่ได้กำหนดไว้ งบประมาณที่มีจำกัดไม่สามารถสัมมนารับฟังความคิดเห็นจากประชาชนได้ทั่วถึง วิธีการจัดการกับปัญหา/ อุปสรรค การใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศ เช่น การประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจ และการสอบถามความพึงพอใจในการจัดทำแผนฯ ทาง Internet รวมทั้งการติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ บทเรียนที่ได้รับจากการปรับปรุงกระบวนการ การจัดทำแผน PDP จะต้องเป็นที่ยอมรับ มีกระบวนการที่โปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล รวมทั้ง จะต้องมีกระบวนการรับฟังความเห็นครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อลดข้อร้องเรียน และลดแรงต่อต้านจากกลุ่มผู้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปัจจัยที่ทำให้การปรับปรุงกระบวนการประสบผลสัมฤทธิ์ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้การยอมรับแผน PDP โดยไม่มีการต่อต้าน หรือไม่เห็นด้วยน้อยที่สุด แผน PDP ได้ผ่านความเห็นชอบจาก กพช. และ ครม. เรียบร้อยแล้วภายในกรอบเวลาที่กำหนดไว้
10
รายละเอียดของกระบวนการสนับสนุน
ความสำคัญของ กระบวนการรวบรวมข้อมูลพลังงานของประเทศ ปัจจุบันฐานข้อมูลของ สนพ. มีการนำเข้าข้อมูลด้วยวิธี key ข้อมูลเข้าระบบฐานข้อมูล ซึ่งข้อมูลมีเป็นจำนวนมาก เช่น การผลิต การใช้ การนำเข้า-ส่งออก น้ำมัน ข้อมูลการผลิตน้ำมันดิบ คอนเดนเสท ก๊าซธรรมชาติ ข้อมูลไฟฟ้า ทำให้ต้องใช้เวลานานในการ key และตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้อง ดังนั้น สนพ. จึงปรับปรุงกระบวนการใหม่ โดยการเปลี่ยนวิธีการนำเข้าข้อมูลจากวิธีการ key ข้อมูลมาเป็นการนำเข้าข้อมูลด้วยวิธีการ Transfer ซึ่งจะช่วยลดขั้นตอนและระยะเวลาการดำเนินงาน สนพ. นำเข้าข้อมูลด้วยวิธีการ Transfer ได้แก่ ฐานข้อมูลปิโตรเคมี และฐานข้อมูลการจำหน่ายไฟฟ้าราย TSIC ในอนาคต กลุ่มผู้รับบริการ ผู้บริหารและบุคลากรกระทรวงพลังงาน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน นักวิชาการ ประชาชน และผู้สนใจทั่วไป - 10 -
11
รายละเอียดของกระบวนการสนับสนุน
ผลลัพธ์ของกระบวนการ ข้อมูลการผลิตและการใช้พลังงานได้รับการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของ สนพ. ตัวชี้วัดผลสำเร็จของกระบวนการ และค่าเป้าหมาย ข้อมูลการผลิตและการใช้พลังงานได้รับการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ประมาณวันที่ 12 ของทุกเดือน ตัวชี้วัดภายในกระบวนการ และค่าเป้าหมาย การ update ข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วนอย่างต่อเนื่อง และสามารถเผยแพร่ข้อมูลทางเว็บไซต์ของ สนพ. ทุกเดือน - 11 -
12
ขอบเขตของกระบวนการที่ดำเนินการอยู่เดิม
เริ่มต้น รวบรวมข้อมูลการผลิต การใช้ การนำเข้า การส่งออก และมูลค่าพลังงานจากแหล่งต่างๆ นำเข้าข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ด้วยวิธีการ Key ฐานข้อมูลสถิติพลังงาน ฐานข้อมูล Emission ระบบฐานข้อมูล ปรับปรุงแก้ไข ไม่ถูกต้อง ตรวจสอบความถูกต้อง ถูกต้อง วิเคราะห์ ประมวลผลข้อมูล และจัดทำรายงาน เผยแพร่ข้อมูลตามสิทธิ์ สิ้นสุดกระบวนการ - 12 -
13
ประเด็นของการปรับปรุงกระบวนการ
ประเด็นสำคัญของปัญหา หรือเงื่อนไขสถานการณ์ที่นำมาซึ่งการปรับปรุงกระบวนการ ที่ผ่านมาการรวบรวมข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ และไม่ทันตามเวลาที่กำหนดไว้ภายในวันที่ 12 ของทุกเดือน เนื่องจากข้อมูลที่นำมาใช้เป็นข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งต้องรวบรวมมาจากหน่วยงานอื่น หากแหล่งข้อมูลมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของการรายงาน สนพ.จะต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบรายงานตามข้อมูลต้นฉบับทุกครั้ง ทำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น - สนพ. จะต้องเตรียมเจ้าหน้าที่ในการประสานงานขอความร่วมมือกับหน่วยงานเจ้าของข้อมูลเป็นประจำ และอย่างต่อเนื่อง เพื่อจะได้รับข้อมูลที่ครบถ้วนและทันตามเวลา - ต้องเสียเวลาในการตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูล รูปแบบรายงานให้สอดคล้องตรงกันกับข้อมูลต้นฉบับทุกครั้ง ก่อนที่จะนำเข้าข้อมูลด้วยวิธีการ Transfer แนวคิด เครื่องมือที่ใช้ในการ ปรับปรุงกระบวนการ เพิ่มกระบวนการในการรวบรวมข้อมูลด้านพลังงาน เพิ่มฐานข้อมูลปิโตรเคมี และฐานข้อมูลการจำหน่ายไฟฟ้าราย TSIC เพื่อจะได้มีข้อมูลด้านพลังงานครอบคลุม ครบถ้วน การเพิ่มช่องทางการนำเข้าข้อมูลจากเดิมที่ใช้ระบบการ key ข้อมูลเพียงอย่างเดียว เป็นการ Transfer ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลโดยตรง - 13 -
14
นำเข้าข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ภายในวันที่ 12 ของทุกเดือน
ขอบเขตของกระบวนการที่ดำเนินการใหม่ เริ่มต้น รวบรวมข้อมูลการผลิต การใช้ การนำเข้า การส่งออก และมูลค่าพลังงานจากแหล่งต่างๆ นำเข้าข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ด้วยวิธีการ Key นำเข้าข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ด้วยวิธีการ Transfer ฐานข้อมูลสถิติพลังงาน ฐานข้อมูล Emission ระบบฐานข้อมูล ปรับปรุงแก้ไข ไม่ถูกต้อง ฐานข้อมูลปิโตรเคมี ฐานข้อมูลการจำหน่ายไฟฟ้าราย TSIC ตรวจสอบความถูกต้อง ถูกต้อง วิเคราะห์ ประมวลผลข้อมูล และจัดทำรายงาน เผยแพร่ข้อมูลตามสิทธิ์ เว็บไซต์ สนพ. DOC-EPPO ฐานข้อมูล ภายในวันที่ 12 ของทุกเดือน สิ้นสุดกระบวนการ - 14 -
15
การปรับปรุงกระบวนการ
ผลลัพธ์ที่ดีขึ้นจากการปรับปรุง กระบวนการ ครอบคลุมถึงกระบวนการรวบรวมข้อมูลปริมาณการผลิต การใช้ การนำเข้า การส่งออก และมูลค่าพลังงานจากแหล่งต่างๆ และนำมาวิเคราะห์ ประมวลผล และจัดทำรายงานภาพรวมพลังงานของประเทศ การ update ข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วนอย่างต่อเนื่อง และสามารถเผยแพร่ข้อมูลทางเว็บไซต์ของ สนพ. ภายในวันที่ 12 ของทุกเดือน ตัวชี้วัดผลสำเร็จของกระบวนการ และค่าเป้าหมาย ข้อมูลการผลิตและการใช้พลังงานได้รับการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ค่าเป้าหมาย : ภายในวันที่ 12 ของทุกเดือน ตัวชี้วัดภายในกระบวนการ และค่าเป้าหมาย ประสาน ติดตาม รวบรวมข้อมูลการผลิตและการใช้พลังงานจากแหล่งต่าง ๆ ให้แล้วเสร็จภายวันที่ 11 ของทุกเดือน ค่าเป้าหมาย : มีความล้าช้าไม่เกิน 1 วันทำการ - 15 -
16
สรุปบทเรียน ปัญหา/อุปสรรคในการปรับปรุงกระบวนการ
การรวบรวมข้อมูลไม่ครบถ้วนหรือไม่ทันตามเวลา เนื่องจากข้อมูลที่นำมาใช้เป็นข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งต้องรวบรวมมาจากหน่วยงานอื่น หากแหล่งข้อมูลมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของการรายงาน สนพ.จะต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบรายงานตามข้อมูลต้นฉบับทุกครั้ง วิธีการจัดการกับปัญหา/ อุปสรรค การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานเจ้าของข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ครบถ้วนและทันตามเวลา ตรวจสอบรูปแบบรายงานให้สอดคล้องตรงกันกับข้อมูลต้นฉบับทุกครั้ง ก่อนที่จะนำเข้าข้อมูลด้วยวิธีการ Transfer บทเรียนที่ได้รับจากการปรับปรุงกระบวนการ การที่ผู้บริหารได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง ควบถ้วน รวดเร็ว ส่งผลให้การกำหนดนโยบายและแผนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นที่ยอมรับของประชาชน ปัจจัยที่ทำให้การปรับปรุงกระบวนการประสบผลสัมฤทธิ์ ความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก ได้แก่ หน่วยงานเจ้าของข้อมูล ความร่วมมือจากหน่วยงานภายใน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ของ ศพส. ในการ update ข้อมูลให้มีความถูกต้อง ครบถ้วนอย่างต่อเนื่อง โดยดำเนินการให้เสร็จทันระยะเวลาที่กำหนด
17
ผลการดำเนินงานของกระบวนการตามตัวชี้วัดของกระบวนการหลังปรับปรุงเปรียบเทียบกับก่อนปรับปรุง
PDP ก่อน หลัง ผลลัพธ์ของกระบวนการ การดำเนินงานตามแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้า หรือ PDP 2007 ได้แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ PDP ที่มีประสิทธิภาพ มีความสมบูรณ์ โปร่งใส จากการพิจารณากลั่นกรองของคณะอนุกรรมการฯ และเป็นที่ยอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้อทุกภาคส่วน ที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ซึ่งจะส่งผลให้การจัดหาแผน PDP มีความสอดคล้องกับความต้องการไฟฟ้าของประเทศ ในราคาที่เป็นธรรม สอดคล้องกับนโยบายด้านเศรษฐกิจ และเป็นไปตามนโยบายการลดภาวะโลกร้อน ตัวชี้วัดภายในกระบวนการ และค่าเป้าหมาย ร้อยละของความสำเร็จของการดำเนินการ/ทบทวน แผน PDP ที่ผ่านความเห็นชอบ จากคณะอนุกรรมการพัฒนาปรับปรุงแผนกำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ และนำเสนอ กพช. และ ครม. ค่าเป้าหมาย : 100 % ร้อยละของความสำเร็จของการจัดทำแผน PDP ที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพัฒนาปรับปรุงแผนกำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ และผ่านกระบวนการรับฟังความคิดเห็นต่อร่างแผน PDP ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย - มีค่าเป้าหมาย 100% ตัวชี้วัดผลสำเร็จของกระบวนการ และค่าเป้าหมาย การนำเสนอแผน PDP ต่อ กพช. และ ครม. เห็นชอบ การมีส่วนร่วมในการจัดทำร่างแผน PDP 2010 ทุกกลุ่มเป้าหมาย กพช. และ ครม. ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ (PDP 2010) ภายในเวลาที่กำหนด (มีนาคม 2553) มีค่าเป้าหมาย 100%
18
กระบวนการรวบรวมข้อมูลพลังงานของประเทศ
ผลการดำเนินงานของกระบวนการตามตัวชี้วัดของกระบวนการหลังปรับปรุงเปรียบเทียบกับก่อนปรับปรุง กระบวนการรวบรวมข้อมูลพลังงานของประเทศ ก่อน หลัง ผลลัพธ์ของกระบวนการ ข้อมูลการผลิตและการใช้พลังงานได้รับการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของ สนพ. ครอบคลุมถึงกระบวนการรวบรวมข้อมูลปริมาณการผลิต การใช้ การนำเข้า การส่งออก และมูลค่าพลังงานจากแหล่งต่างๆ และนำมาวิเคราะห์ ประมวลผล และจัดทำรายงานภาพรวมพลังงานของประเทศ การ update ข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วนอย่างต่อเนื่อง และสามารถเผยแพร่ข้อมูลทางเว็บไซต์ของ สนพ. ภายในวันที่ 12 ของทุกเดือน ตัวชี้วัดภายในกระบวนการ และค่าเป้าหมาย การเผยแพร่ข้อมูลทางเว็บไซต์ของ สนพ. จะดำเนินการได้หลังจากเจ้าหน้าที่ update ข้อมูลด้านพลังงาน ด้วยการ Key แล้วเสร็จ ปรับปรุงการดำเนินงานในขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลมีความถูกต้องและรวดเร็วมากขึ้น เพิ่มช่องทางการนำเข้าข้อมูลจากเดิมที่ใช้ระบบการ key ข้อมูลเพียงอย่างเดียว เป็นการ Transfer ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลโดยตรง โดยใช้วิธีการดังกล่าวกับฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ ได้แก่ ฐานข้อมูลปิโตรเคมี และฐานข้อมูลการจำหน่ายไฟฟ้าราย TSI ตัวชี้วัดผลสำเร็จของกระบวนการ และค่าเป้าหมาย ข้อมูลการผลิตและการใช้พลังงานได้รับการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ประมาณวันที่ 12 ของทุกเดือน ประสาน ติดตาม รวบรวมข้อมูลการผลิตและการใช้พลังงานจากแหล่งต่าง ๆ ให้แล้วเสร็จและเผยแพร่ทางเว็บไซต์ สนพ. ภายในวันที่ 12 ของทุกเดือน และเผยแพร่ข้อมูลพลังงานทางเว็บไซต์ สนพ. ภายในวันที่ 12 ของทุกเดือนไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.