ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTeera Rattanapong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การควบคุมการ บริโภคยาสูบ สำนักโรคไม่ติดต่อ
2
นโยบายการควบคุมการบริโภค ยาสูบของ WHO mpower M onitor tobacco use and prevention policies P rotect people from tobacco smoke O ffer help to quit tobacco use W arn about the dangers of tobacco E nforce bans on advertising, promotion, sponsorship R aise taxes on tobacco products
3
The 5 A’s: Review ASK about tobacco USE ADVISE tobacco users to QUIT ASSESS readiness to make a QUIT attempt ASSIST with the QUIT ATTEMPT ARRANGE FOLLOW-UP care Fiore et al. (2000). Treating Tobacco Use and Dependence. Clinical Practice Guideline. Rockville, MD: USDHHS, PHS.
4
สรุปการประเมิน ความสามารถ ของประเทศไทย ในด้าน การควบคุม การบริโภคยาสูบ สำนักโรคไม่ติดต่อ
5
ข้อค้นพบสำคัญสำหรับความยั่งยืน ความสำเร็จที่ผ่านมาเกิดจากการร่วมมือเป็น อย่างดีของกลุ่มองค์กรเอกชนและผู้เชี่ยวชาญ ในการสนับสนุนการทำงานของภาครัฐ ความสำเร็จที่ผ่านมาอาจกำลังทำให้มี ความก้าวหน้าช้าลง งบประมาณส่วนใหญ่ได้จาก สสส. งบจาก รัฐบาลเองค่อนข้างน้อย การประสานงานกันเป็นแบบไม่เป็นทางการเป็น ส่วนใหญ่ โครงสร้างพื้นฐานในการดำเนินงานของภาครัฐ ยังอ่อนแอ โครงสร้างพื้นฐานขององค์กรเอกชนยังสามารถ ที่จะขยายออกไปได้อีก โดยเฉพาะในระดับราก หญ้า
6
ข้อเสนอแนะเพื่อความยั่งยืน ควรเสริมสร้างความเข้มแข็งโดย ค้นหาและพัฒนาผู้นำที่จะสืบทอดต่อไปทั้งภาครัฐ และภาคประชาสังคม ภาครัฐควรเสริมความเข้มแข็งในการนำทางด้าน การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายและการกำหนดแผน และกลยุทธ์การดำเนินงานร่วมกับภาคส่วนต่างๆ คงไว้และขยายศักยภาพด้านกลไกการ สนับสนุนงบประมาณแก่พื้นที่ในการควบคุมการ บริโภคยาสูบ สร้างและรักษาบุคลากรที่จะดำเนินงานในทุก ระดับ ควรมีการจัดทำแผนชาติด้านการควบคุมการ บริโภคยาสูบ
7
ข้อเสนอแนะด้านต่างๆ โดยสังเขป พยายามเพิ่มราคาบุหรี่ต่อไปโดยการเพิ่มภาษี ให้สอดคล้องกับภาวะ เงินเฟ้อ และการเพิ่ม ภาษีบุหรี่มวนเอง พยายามทำให้ภายในบริเวณอาคารต่างๆ ปลอดควันบุหรี่ 100% ให้ความช่วยเหลือในการเลิกสูบบุหรี่แก่ผู้ที่ติด บุหรี่และผลักดันสู่ระบบการดูแลปฐมภูมิ ควรมีระบบการติดตามกำกับทั้งด้านการควบคุม การบริโภคยาสูบและอุตสาหกรรมยาสูบ
8
โครงการในปี 52 1. โครงการการใช้มาตรการการปกครองและ บริหารจัดการเพื่อเพิ่มคุณภาพการบังคับใช้ กฎหมายในสถานที่ราชการ (2,075,000 บาท ) 2. โครงการการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายแกนนำ เยาวชนต้านภัยยาสูบ (700,000 บาท ) 3. โครงการจัดทำนโยบายและแผนควบคุมการ บริโภคยาสูบแห่งชาติ (1,000,000 บาท ) 4. โครงการพัฒนานโยบายและกฎหมายเพื่อ ควบคุมยาสูบ (1,767,193 บาท ) โครงการพัฒนาการสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การควบคุมการบริโภคยาสูบ (1,500,000 บาท )
9
โครงการ Toward 100% smoke free environment (69,000 USD) การจัดทำโครงการศึกษากฎหมายใหม่ให้สอดคล้อง กับ FCTC การอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่และองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง เพิ่มเติม การประชุมชี้แจงกฎหมายใหม่ให้กับเจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง การจัดตั้งเครือข่ายของผู้ที่ดำเนินการตามโครงการ สถานที่ทำงานปลอดบุหรี่ การวางแผนและกำหนดการจัดประชุมระหว่าง หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง การจัดเวทีเสวนาเกี่ยวกับการจัดทำสิ่งแวดล้อมให้เป็น สถานที่ปลอดบุหรี่ การผลักดันกฎกระทรวง / ประกาศกระทรวงฯ หรือการ แก้ไขปรับปรุง พ. ร. บ. คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ. ศ. 2535
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.