ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMongkut Luang ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร
2
ควบคุมโรคอย่างไรให้ยั่งยืน
กรอบคิดใหม่ ควบคุมโรคอย่างไรให้ยั่งยืน
3
ทำไม?ต้อง อหิวาตกโรค ไข้เลือดออก
4
วัฏจักรการเกิดโรค
5
สภาพทั่วไป
6
สภาพการขนส่ง
7
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
8
บริบทวิถีชีวิต ชาวอำเภอทุ่งตะโก กับ ปัญหาอหิวาตกโรค
9
ชีวิตบนเรือ
10
เรามี อหิวา !!! เป็นของตนเองแล้ว
11
การเรียนรู้ครั้งใหม่ ป้องกันโรคอย่างไรให้สำเร็จ
บทเรียนครั้งเก่า สู่ การเรียนรู้ครั้งใหม่ ป้องกันโรคอย่างไรให้สำเร็จ
12
เครื่องมือประเมินสถานการณ์
การเกิดโรค ระยะเวลาการระบาด ความชุกของเชื้อ/แนวโน้ม การกำจัดแหล่งรังโรค การป้องกันถูกต้องมากน้อยเพียงใด
13
ผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรค อหิวาตกโรค ไข้เลือดออก
3.การวางแผนงาน SRRT 4. การระดมทรัพยากร 1.คณะกรรมการ 2. ระบบระบาดวิทยาที่ดี
14
ป้องกันควบคุมโรคต่อเนื่องเรื่อง........ยังไม่จบ
15
เครือข่ายแบบโยงใย!!!!! Spider MAP
16
บันทึกข้อตกลง อำเภอทุ่งตะโกเมืองสุขภาพ
17
ใคร อยู่เบื้องหลังกระบวนการ
ทุ่งตะโกโมเดล อะไร คือ จุดเริ่มต้น ใคร อยู่เบื้องหลังกระบวนการ คนทุ่งตะโก ได้ อะไร
18
รัฐ พลัง 3 ประสาน ท้องถิ่น ประชาชน
19
ทุ่งตะโก อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
วิชาการนำ การเมืองหนุน ประชาชนเดินหน้า พลังศรัทธาชุมชน ทุ่งตะโก อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
20
“พอผมรู้ ผมให้รองนายก ไปเคาะประตูบ้าน แจ้งทุกบ้านให้ล้างหัวแพ
“เต็มที่เลยนะครับ มีอะไรติดขัดบอกผม” นักรบ ณ ถลาง นายอำเภอทุ่งตะโก “พอผมรู้ ผมให้รองนายก ไปเคาะประตูบ้าน แจ้งทุกบ้านให้ล้างหัวแพ ขาดอะไรบอกผม” อมร บางวิรุฬรักษ์ นายกเทศมนตรีตำบลปากตะโก “เช้าขึ้นมา ฉันต้องกวาดถนน ถ้าวันไหนไม่ได้ทำรู้สึกว่า ขาดอะไรไปอย่างนึง” โกซ้าน เจ้าของแพปลา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.