ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Mae Sai Hospital
2
การพัฒนางานเพื่อลดการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บในมารดาคลอดที่ตัดแผลฝีเย็บ
3
ความสำคัญและความเป็นมา
อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปีพศ อันเนื่องมาจากได้มีการปรับนิยามการเฝ้าระวังการติดเชื้อให้เป็นบริบทของโรงพยาบาล เช่นการตรวจพิเศษต่างๆ จึงพบว่ามีการดักจับได้มากขึ้น อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลปีงบประมาณ
4
การติดเชื้อในโรงพยาบาล จำแนกตามตำแหน่งติดเชื้อ ประจำปีงบประมาณ 2551-2553
โดยตำแหน่งการติดเชื้อที่สำคัญและต้องมีการดำเนินการแก้ไขตั้งแต่ปี ได้แก่ CAUTI, แผล Episiotomy และ SSI โดยดำเนินการพัฒนาคุณภาพดังนี้
5
แก้ปัญหาอย่างไร ให้ตรงจุด และรวดเร็ว ?
6
ทบทวนข้อมูลปัจจัยที่อาจเกิดแผลฝีเย็บติดเชื้อ
ปี มารดา poor hygiene สื่อสารไม่เข้าใจ มารดา poor hygiene แผลบวมมี Hematoma ห้องคลอดผู้คลอดล้น มารดา poor hygiene แผลลึก สื่อสารไม่เข้าใจ ล้างทำความสะอาดไม่ถูกต้อง HCW ทำงาน<1ปี มารดา poor hygiene แผล Trauma รุนแรง
7
กิจกรรมการพัฒนา ระยะที่ 1: การแก้ไขปัญหาส่วนของเทคนิคการทำคลอดและเย็บแผล ระยะที่ 2: การแก้ไขปัญหาการติดเชื้อใช้ RCA และติดตามการติดเชื้อแผลฝีเย็บใช้ระบบของแผนภูมิควบคุม (control chart)
8
ระยะที่ 1 ดำเนินการในช่วงเดือนมกราคม – เมษายน 2554
กลุ่มเป้าหมายคือบุคลากรพยาบาลในงานห้องคลอดและงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน อบรมสาธิตการทำคลอดและเทคนิคการเย็บแผลฝีเย็บโดยสูตินารีแพทย์ ประเมินการปฏิบัติโดยการสาธิตย้อนกลับการทำคลอดและเย็บแผลฝีเย็บ
9
ระยะที่ 2 เฝ้าระวังการติดเชื้อ และติดตาม control chart
มีการดำเนินการเมื่ออัตราการติดเชื้อใกล้ค่าเฉลี่ย วิธีการแก้ไขปัญหา ดำเนินการตามการวิเคราะห์ RCA
10
ระยะที่ 2: การดำเนินการ
RCA ผู้คลอดมีจำนวนมาก ห้องคลอดมีเตียงแทรก มารดา poor hygine ทำความสะอาดครั้งใหญ่ ห้องคลอด (7 พค.54)
11
ระยะที่ 2: การดำเนินการ
ทำความสะอาดครั้งใหญ่ ตึกหลังคลอด (6 สค. 54) RCA มารดาแผลแยกเป็นมารดานอนเฝ้าบุตรป่วย ผู้คลอดมีจำนวนมาก ห้องหลังคลอดมีเตียงแทรก ตรวจสภาพของหลังคลอดแออัดมาก และชื้น
12
ระยะที่ 2: การดำเนินการ
RCA มารดา poor hygine มารดาไม่อาบน้ำ ล้างแผลฝีเย็บไม่ถูกต้อง กำหนดจัดชุดหลังคลอดให้มี 4%chlorhexedine ในการทำความสะอาดแผลฝีเย็บ (กพ.55)
13
ผลการเปลี่ยนแปลง
14
บทเรียนที่ได้รับ การใช้ control chart ร่วมกับ RCA ส่งผลต่ออัตราการติดเชื้อตำแหน่งแผลฝีเย็บลดลง การแก้ไขปัญหาทีตรงจุด และรวดเร็ว สามารถลดอัตราการติดเชื้อในตำแหน่งแผลฝีเย็บได้ผลดี
15
ระบบที่ได้รับการพัฒนา
ด้านบุคลากร บุคลากรพยาบาลจะต้องได้รับการฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับการทำคลอดและการดูแลแผลฝีเย็บอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ในบุคลากรพยาบาลปฏิบัติงานใหม่ต้องได้รับการอบรมสาธิตการทำคลอดและการเย็บแผลฝีเย็บ ผ่านการประเมินโดยพยาบาลชำนาญการของงาน ห้องคลอด
16
ระบบที่ได้รับการพัฒนา(ต่อ)
ด้านสิ่งแวดล้อม การทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมต้องทำความสะอาดทุกวัน โดยเฉพาะบริเวณห้องรอคลอด และห้องทำคลอด หากมีผู้คลอดจำนวนมากต้องเคร่งครัดในการจัดการสิ่งแวดล้อมให้มากกว่าปกติ ต้องมีการเฝ้าระวังการติดเชื้อหลังคลอดอย่างเข้มงวดในช่วงที่พบว่าผู้คลอดมีจำนวนมาก ควรมีการทำ Big cleaning อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
17
ระบบที่ได้รับการพัฒนา(ต่อ)
ด้านผู้คลอด เมื่อแรกรับต้องมีการเปลี่ยนเสื้อผ้า ให้ผู้คลอดอาบน้ำทำความสะอาดตัวเองและต้องทำอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง หลังคลอดต้องมีการให้ความรู้แก่ผู้คลอดในด้านการปฏิบัติตัวทุกราย รวมทั้งกระตุ้นในเรื่องการทำความสะอาดร่างกายของมารดาหลังคลอด การทำความสะอาดแผลฝีเย็บ ให้ผู้คลอดทำความสะอาดด้วย 4% chlorhexedine อย่างน้อยว้นละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
18
โอกาสพัฒนา ควรมีการศึกษาผลของการใช้ 4% chlorhexedine เปรียบเทียบกับวิธีการอื่นๆในการลดการติดเชื้อแผลฝีเย็บ ใช้ระบบ control chart ร่วมกับ RCA ในการลดการติดเชื้อในตำแหน่งอื่นๆ
19
Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.