ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสำรวจผีเสื้อกลางวัน
นันทิยา รัตนจันทร์ นักกีฏวิทยาปฏิบัติการ กลุ่มงานกีฏวิทยาและจุลชีววิทยาป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช
2
Order Lepidoptera แมลงที่มีปีกปกคลุมด้วยเกล็ด
ผีเสื้อกลางวันและกลางคืน (Butterfly and Moth) ความแตกต่างของผีเสื้อกลางวันและกลางคืน พฤติกรรมการหากิน และรูปร่างที่แตกต่างกัน อวัยวะที่แตกต่างกัน และใช้ในการจำแนก หนวด อวัยวะสืบพันธุ์
3
ผีเสื้อกลางวัน
4
Life Cycle
5
ความสัมพันธ์กับระบบนิเวศ
ห่วงโซ่อาหาร เป็นผู้ถูกล่า ขบวนการย่อยสลาย การหมุนเวียนของธาตุอาหาร การถ่ายละอองเกสรพืช
6
บทบาทที่มีต่อมนุษย์ ทางตรง: อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค การท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์จากแมลง ทางอ้อม: การใช้เป็นดัชนีชี้วัดสภาพแวดล้อม
7
ปัจจัยการดำรงชีวิต แสงแดด อุณหภูมิ ความชื้น กระแสลม แหล่งที่อยู่อาศัย
ศัตรู อาหาร
8
อาหาร โป่งผีเสื้อ พืชอาหาร พืชอาหารของตัวเต็มวัย พืชอาหารของตัวหนอน
พืชอาหารของตัวหนอน กินพืชอาหารได้หลายชนิด กินพืชอาหารแบบเฉพาะเจาะจง
9
โป่งผีเสื้อ
10
วิธีการสำรวจ หลักการ อาศัยความสัมพันธ์ของผีเสื้อกับสิ่งแวดล้อม พืชอาหาร ในการตีความเพื่อทำนายการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม หรือนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ประกอบในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ วิธีการ การสำรวจเพื่อจัดทำบัญชีรายชื่อ (Checklist ) การใช้กับดักผีเสื้อ (Butterfly trap) การใช้แนวสำรวจ (Butterfly transect) ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดคือ น.
11
Butterfly trap
12
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง
กล่องพลาสติก ปากกา/ดินสอ GPS
13
วิธีการเก็บผีเสื้อ การโฉบผีเสื้อ การทำให้ผีเสื้อสลบ
การเก็บรักษาผีเสื้อก่อนนำไปเซ็ต
14
การบันทึกข้อมูลในซองผีเสื้อ
สถานที่ วันที่ เดือน ปี , เวลา……….. ชื่อผู้เก็บ
15
.....ฝึกปฏิบัติ.....
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.