งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมชี้แจง การจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมชี้แจง การจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมชี้แจง การจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔
โดย นายอำพน กิตติอำพน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

2 ประเด็นนำเสนอ ความเป็นมา
องค์ประกอบคณะกรรมการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน โครงสร้างของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แนวทางการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ระยะเวลาดำเนินการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แบบฟอร์มการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน

3 ความเป็นมา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 76 กำหนดให้รัฐบาลต้อง จัดทำ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ที่สอดคล้องกับแนวนโยบาย พื้นฐานแห่งรัฐ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ และ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่า ด้วยการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ และ ฉบับที่ 2 พ.ศ ข้อ 5 กำหนดให้มี คณะกรรมการจัดทำ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน มีหน้าที่พิจารณาร่างแผนการบริหาร ราชการแผ่นดินให้แล้วเสร็จและเสนอนายกรัฐมนตรีภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา และเมื่อนายกรัฐมนตรีเห็นชอบแล้วให้เสนอ คณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป

4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ มาตรา 16 ได้กำหนดให้ส่วนราชการต้อง ดำเนินการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการระยะ 4 ปี ให้สอดคล้องกับแผนบริหาร ราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการประจำปี นำเสนอรัฐมนตรีเจ้าสังกัด ให้ความเห็นชอบและให้สำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณในแต่ละภารกิจตาม แผนปฏิบัติราชการ ดังนั้น เมื่อคณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบแผนบริหารราชการแผ่นดิน แล้วส่วนราชการจะต้องเร่งจัดทำแผนปฏิบัติการ ระยะ 4 ปี และ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2552 เพื่อใช้ประกอบการพิจารณา จัดสรรงบประมาณปี 2552 ต่อไป

5 องค์ประกอบคณะกรรมการจัดทำแผนการบริหารฯ
รายชื่อ ตำแหน่ง 1. รองนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) ประธาน 2. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กรรมการ 3. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 4. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 5. ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ 6. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 7. ผู้ทรงคุณวุฒิ (นายการุณ กิตติสถาพร) 8. รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ) เลขานุการ 9. รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ผู้ช่วยเลขานุการ

6 โครงสร้างแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
แนวคิดและทิศทางการบริหารประเทศ นโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย 8 นโยบาย นโยบายที่ 1 ฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ (นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก) นโยบายที่ 2 สังคมและคุณภาพชีวิต นโยบายที่ 3 เศรษฐกิจ นโยบายที่ 4 ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นโยบายที่ 5 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม นโยบายที่ 6 การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ นโยบายที่ 7 ความมั่นคงของรัฐ นโยบายที่ 8 นโยบายการบริหารจัดการที่ดี กลไกการนำแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ หน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณสนับสนุนนโยบาย แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล บทสรุป

7 แนวทางการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
รนม. และ รมว. เป็นผู้กำกับและมอบนโยบายรัฐบาลและแผนพัฒนาด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้ส่วนราชการจัดทำยุทธศาสตร์ แนวทาง แผนงานหรือโครงการ ส่วนราชการในสังกัดกระทรวง นำนโยบายที่ได้รับมอบหมาย มาประกอบการจัดทำแผนฯ ตามแบบฟอร์มที่คณะกรรมการฯ กำหนด โดย สามารถปรับแผนการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2551 ให้สอดคล้องกับนโยบาย รัฐบาล และแผนพัฒนาด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง นำเสนอเป้าหมายและตัวชี้วัดระดับนโยบายที่แสดงในแบบฟอร์มที่ 2 สำหรับ ตัวชี้วัดระดับแผนงานและโครงการ ให้แสดงในแบบฟอร์มที่ 4 สามารถเพิ่มเติมประเด็นนโยบายในแบบฟอร์มที่ 2 ให้สอดคล้องกับแนวนโยบาย พื้นฐานแห่งรัฐตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และแผนพัฒนาด้านต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง พิจารณากำหนดแผนงานหรือโครงการสำคัญที่มีความสอดคล้อง ความพร้อม ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ และลำดับความสำคัญด้วย

8 แนวทางการจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน
3. กระทรวง บูรณาการแผนของส่วนราชการในสังกัดโดยความเห็นชอบของ รมว. และ รนรม. และจัดส่งให้ สงป. สศช. ก.พ.ร. 4. ฝ่ายเลขานุการ พิจารณาข้อเสนอของกระทรวง ด้านบูรณาการและ ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและแผนอื่นๆ ความพร้อมของแผนงาน/โครงการ (Flagship Project) และกรอบวงเงินงบประมาณ โดย สงป. จะเป็นผู้พิจารณา รายละเอียดด้านงบประมาณ สศช. และ ก.พ.ร. พิจารณาด้านแผนงาน/โครงการ เพื่อ นำเสนอคณะกรรมการฯ ให้ความเห็นชอบ คณะกรรมการฯ นำเสนอแผนต่อ นรม. และ ครม. ให้ความเห็นชอบ เพื่อใช้เป็น แนวทางในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไป การติดตามประเมินผลแผนฯ ก.พ.ร. และ สงป. เป็นผู้รับผิดชอบ ดำเนินการ โดยจะติดตามจากแผนปฏิบัติราชการประจำปีของส่วนราชการ

9 ระยะเวลาดำเนินการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
ครม. แถลงนโยบายต่อรัฐสภา (18-20 ก.พ. 2551) คณะกรรมการจัดทำแผนฯ รนรม./รมว. มอบนโยบาย/กำกับการจัดทำแผนฯ สศช./สงป./ก.พ.ร. พิจารณาและ บูรณาการแผน/งบประมาณ (3-7 มี.ค. 2551) นำเสนอ นรม. และ ครม. (11 มี.ค. 2551) นรม. ประชุมชี้แจงนโยบาย/การจัดทำแผนฯ (25 ก.พ. 2551) ส่วนราชการจัดทำแผนฯ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (26-29 ก.พ. 2551) แผนปฏิบัติราชการประจำปี (คำของบประมาณ)

10 การแบ่งผู้รับผิดชอบจัดทำแผนการบริหารราชการ
นโยบายรัฐบาล เจ้าภาพ หน่วยงานเลขานุการฯ 1. นโยบายฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ รองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมาย สศช. 2. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต รองนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) 3. นโยบายเศรษฐกิจ รองนายกรัฐมนตรี (นายสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี/ นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์/นายสหัส บัณฑิตกุล พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์/นายสุวิทย์ คุณกิตติ) 4. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รองนายกรัฐมนตรี (นายสหัส บัณฑิตกุล/ พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์) ทส. 5. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม รองนายกรัฐมนตรี (นายสหัส บัณฑิตกุล) วท. 6. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ รองนายกรัฐมนตรี (นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์) กต. 7. นโยบายความมั่นคงของรัฐ รองนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) สมช. / สศช. 8. นโยบายการบริหารจัดการที่ดี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายชูศักดิ์ ศิรินิล / นายจักรภพ เพ็ญแข) ก.พ.ร. / สศช.

11 แบบฟอร์มประกอบการจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน
แบบฟอร์ม 1 (ตารางกลไกการนำแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ) แบบฟอร์ม 2 (ตารางข้อมูลแผนการบริหารราชการแผ่นดิน) แบบฟอร์ม 3 (ข้อมูลโครงการสำคัญตามนโยบายรัฐบาล) แบบฟอร์ม 4 (ตารางแสดงรายละเอียดแหล่งเงินลงทุน แผนงาน/โครงการ) แบบฟอร์ม 5 (ตารางภาพรวมงบประมาณของกระทรวง)

12 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (3)
แบบฟอร์ม 1 : ตารางกลไกการนำแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ ประเด็นยุทธศาสตร์ (1) เจ้าภาพยุทธศาสตร์ (2) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (3) หน่วยงาน เลขานุการ (4) 1. นโยบายพื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ (นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการ ในปีแรก) รองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมาย วท./กห./มท./ตร./ยธ./กค./พน./อก./นร./ คค./กษ./ทส./พม./ศธ./พณ./กก. สศช. 2. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต รองนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) ศธ./รง./สธ./วท./พม. 3. นโยบายเศรษฐกิจ รองนายกรัฐมนตรี(นายสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี/ นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์/นายสหัส บัณฑิตกุล/พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์/นายสุวิทย์ คุณกิตติ) กค./กษ./อก./กก./พณ./คค./พน./ทก. นโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รองนายกรัฐมนตรี (นายสหัส บัณฑิตกุล / พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์) ทส./กษ./พน./วท. ทส. 5. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม รองนายกรัฐมนตรี (นายสหัส บัณฑิตกุล) วท./ศธ. วท. 6. นโยบายการต่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ รองนายกรัฐมนตรี (นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์) กต./รง. กต. นโยบายความมั่นคงของรัฐ รองนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) นร./กห./มท./กต./ตร. สมช./สศช. 8. นโยบายการบริหารจัดการที่ดี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายชูศักดิ์ ศิรินิล /นายจักรภพ เพ็ญแข ) นร./ทก./ยธ. ก.พ.ร./สศช.

13 แบบฟอร์ม 2 : ตารางข้อมูลแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
นโยบายทิ่ 1 ฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ (ตัวอย่าง) เป้าหมาย 1) กองทุนหมู่บ้านมีศักยภาพและ ความเข้มแข็ง 2) 3) ตัวชี้วัด 1) กองทุนหมู่บ้านยกฐานะเป็น ธนาคารหมู่บ้าน ร้อยละ 20 2) 3) หน่วย : ล้านบาท ประเด็นนโยบาย (1) กลยุทธ์/วิธีดำเนินการ (2) แผนงาน/โครงการสำคัญ (3) วงเงินโครงการ (4) วงเงินจำแนกรายปี (5) วงเงิน (6) หน่วยงานรับผิดชอบ (7) 2551 2552 2553 2554 1.5 การเพิ่มศักยภาพกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง โครงการให้ความรู้ด้านการบริหารจัดการที่ดีสำหรับกองทุนหมู่บ้าน

14 แบบฟอร์ม 2 : ตารางข้อมูลแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
นโยบายทิ่ 3 เศรษฐกิจ (ตัวอย่าง) เป้าหมาย (ระดับนโยบาย) 1) เพิ่มมูลค้าผลผลิตทางการเกษตรและรายได้เกษตรกร 2) 3) ตัวชี้วัด 1) มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรเพิ่มจาก เป็น ลบ. 2) 3) หน่วย : ล้านบาท ประเด็นนโยบาย (1) กลยุทธ์/วิธีดำเนินการ (2) แผนงาน/โครงการสำคัญ (3) วงเงินโครงการ (4) วงเงินจำแนกรายปี (5) วงเงิน (6) หน่วยงานรับผิดชอบ (7) 2551 2552 2553 2554 3.2 นโยบายปรับโครงสร้างภาคเกษตร สร้างมูลค่าสินค้าเกษตรโดยเน้นการยกระดับมาตรฐานสินค้า และระบบตรวจสอบรับรอง โครงการยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร โครงการระบบตรวจสอบรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร

15 แบบฟอร์ม 3 : ข้อมูลโครงการสำคัญตามนโยบายรัฐบาล
1. ชื่อโครงการ 1.1 หน่วยงานรับผิดชอบ (ระดับกรม/ระดับกระทรวง) 1.2 ผู้ติดต่อประสานงาน (contact person) 1.2.1 ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง…………… สังกัด………………………………………… 1.2.2 โทรศัพท์……………โทรศัพท์เคลื่อนที่……… โทรสาร address…………… 2. วัตถุประสงค์……………………………………………. 3. เป้าหมาย……………………………………… 4. ผลผลิต (output)………………………… ผลลัพท์ (outcome)………………………… ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ (KPIs) 5. ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล (ข้อ)…… 6. ระยะเวลาดำเนินโครงการ……………………………… 7. วงเงินโครงการ………… ล้านบาท (โปรดระบุแหล่งเงินรายปี ดังที่ปรากฏตามแบบฟอร์ม 4 ) 8. สถานะโครงการ (โปรดทำเครื่องหมาย  และเลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) 8.1  ศึกษาความเหมาะสม (FS) 8.5  ออกแบบรายละเอียด อยู่ระหว่างดำเนินการ แล้วเสร็จ อยู่ระหว่างดำเนินการ 8.2  ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (IEE/EIA) 8.6  ความพร้อมด้านที่ดิน/พื้นที่ดำเนินโครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการจัดหาที่ดิน คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเห็นชอบ 8.3  การรับฟังความคิดเห็น 8.7  ประกวดราคา 8.4  กระบวนการนำเสนอ ค.ร.ม. 8.8  ก่อสร้าง/ดำเนินการ อยู่ระหว่างการนำเสนอ อนุมัติดำเนินการเมื่อ ………………………… 8.9  อื่นๆ________ หมายเหตุ ………………………………………

16 แบบฟอร์ม 4 : ตารางแสดงรายละเอียดแหล่งเงินลงทุน แผนงาน/โครงการ
หน่วยงาน (กรม) (กระทรวง) หน่วย : ล้านบาท

17 แบบฟอร์ม 5 : ตารางภาพรวมงบประมาณของกระทรวง
หน่วย : ล้านบาท (ทศนิยม 4 ตำแหน่ง) รายการ ปีงบประมาณ รวม 2551 2552 2553 2554 ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามภารกิจพื้นฐาน 1.1 รายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น 1.2 รายจ่ายชำระดอกเบี้ยเงินกู้ 1.3 รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน 2. ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามนโยบาย 2.1 นโยบายต่อเนื่อง 2.2 นโยบายใหม่ 3. รายจ่ายชำระคืนต้นเงินกู้ รวม (1+2+3) คำนิยาม 1. ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามภารกิจพื้นฐาน ประกอบด้วย รายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น ดอกเบี้ย รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน 1.1 รายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น หมายถึง รายจ่ายประจำขั้นต่ำที่จำเป็นต้องจัดสรรงบประมาณให้ตามสิทธิ... 1.2 รายจ่ายชำระดอกเบี้ยเงินกู้ หมายถึง ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่เกิดจากการกู้เงิน 1.3 รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน หมายถึง รายจ่ายที่เกิดขึ้นตามหน้าที่ความรับผิดชอบ... 2. ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามนโยบาย ไม่รวมค่าใช้จ่ายดำเนินการตามภารกิจพื้นฐานตามข้อ 1 2.1 นโยบายต่อเนื่อง (Existing Policy) หมายถึง ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ที่ส่วนราชการ... 2.2 นโยบายใหม่ (New Policy) หมายถึง ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ที่ริเริมดำเนินการ...

18 คำนิยาม 1. ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามภารกิจพื้นฐาน ประกอบด้วย รายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น ดอกเบี้ย รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน 1.1 รายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น หมายถึง รายจ่ายประจำขั้นต่ำที่จำเป็นต้องจัดสรรงบประมาณให้ตามสิทธิหรือ ข้อกำหนดตามกฎหมาย ในส่วนที่ยังไม่รวมเนื้องาน ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ค่าเช่า ทรัพย์สิน (ที่ดิน/อาคาร) และค่าสาธารณูปโภค (ค่าไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์) ไม่รวมค่าเช่าบ้านตามสิทธิ และค่าเช่าทรัพย์สิน (ที่ดิน/อาคาร) ที่แสดงไว้ในรายการภาระผูกพันงบประมาณข้ามปีงบประมาณแล้ว 1.2 รายจ่ายชำระดอกเบี้ยเงินกู้ หมายถึง ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่เกิดจากการกู้เงิน 1.3 รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน หมายถึง รายจ่ายที่เกิดขึ้นตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ต้องดำเนินการเป็น ปกติประจำตามกฎหมายจัดตั้งหน่วยงานนั้นๆ หากหยุดดำเนินการอาจก่อให้เกิดความเสียหายในการ ให้บริการสาธารณะของภาครัฐ ซึ่งมีลักษณะงานและปริมาณงานที่ชัดเจนต่อเนื่องไม่เปลี่ยนแปลงไปตาม เงื่อนไขเชิงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาประเทศ หรือนโยบายรัฐบาล 2. ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามนโยบาย ไม่รวมค่าใช้จ่ายดำเนินการตามภารกิจพื้นฐานตามข้อ 1 2.1 นโยบายต่อเนื่อง (Existing Policy) หมายถึง ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ที่ส่วนราชการได้มีการทบทวน แล้วเห็นว่า สอดรับกับนโยบายรัฐบาลชุดนี้ และยังมีความจำเป็นที่ต้องดำเนินการต่อเนื่อง 2.2 นโยบายใหม่ (New Policy) หมายถึง ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ที่ริเริมดำเนินการตามนโยบายสำคัญ ของรัฐบาลชุดนี้ โดยพิจารณาเรียงลำดับความสำคัญ และสามารถดำเนินการได้จริงตามนโยบายเร่งด่วน และนโยบายรัฐบาลที่จะดำเนินการภายในช่วงวาระ 4 ปีของรัฐบาล

19 ขอบคุณ www.nesdb.go.th www.bb.go.th www.opdc.go.th


ดาวน์โหลด ppt การประชุมชี้แจง การจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google