งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์ 2. ความเร็วในแนวระดับเท่ากับความเร็วตอนต้นที่ลูกปืน ยิงออกมา 3. ความเร็วในแนวระดับมีขนาดมากกว่าตอนที่ถูกยิงออกมา 4. ความเร็วในแนวระดับมีขนาดน้อยกว่าตอนที่ถูกยิงออกมา แต่ไม่เป็นศูนย์

2 คำถามเพิ่มเติม ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2554 )

3 โดย... อาจารย์ทิวา เพ็ญสุข
บทที่ 2 สนามของแรง โดย... อาจารย์ทิวา เพ็ญสุข

4

5 แรงที่กระทำต่อวัตถุได้แก่
แรงโน้มถ่วง 2. แรงแม่เหล็ก 3. แรงไฟฟ้า 4. แรงนิวเคลียร์

6

7 น้ำหนักแปรผันตรงกับมวล
Kg.m/s2 น้ำหนักแปรผันตรงกับมวล น้ำหนัก กับ มวล เป็นปริมาณที่แตกต่างกัน

8 แต่ น้ำหนัก จะมีค่าเปลี่ยนแปลงตามค่า g
มวล มีค่าคงที่เสมอ แต่ น้ำหนัก จะมีค่าเปลี่ยนแปลงตามค่า g ?

9 ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2550 )
ข้อ เมื่อวัตถุอยู่บนดวงจันทร์ชั่งน้ำหนักของวัตถุที่มีมวล 10 กิโลกรัม ได้ 16 นิวตัน ถ้าปล่อยให้วัตถุตกที่บนผิวของดวงจันทร์ วัตถุจะมีความเร่งเท่าใด m/s m/s2 m/s m/s2

10 ข้อมูลจากโจทย์ แทนค่าจะได้ 500 = m(10) m = 50 kg
ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2547 ) 5. ชายคนหนึ่งมีน้ำหนัก 500 นิวตันที่ผิวโลก เขาจะมีมวลเท่าใดบนดวงจันทร์ ซึ่งมีค่าความเร่งโน้มถ่วงเป็น 1/6 เท่าของโลก (กำหนดให้ค่าความโน้มถ่วงของโลก = 10 m/s2 ) kg /2 kg /4 kg /6 kg หา m บนโลก จาก w = mg ข้อมูลจากโจทย์ แทนค่าจะได้ = m(10) m = 50 kg

11 มวล มีค่าคงที่เสมอ หา m บนโลก จาก w1 = mg m บนโลก = w1 g
ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2553 ) มวล มีค่าคงที่เสมอ หา m บนโลก จาก w1 = mg m บนโลก = w1 g

12

13

14 สนามแม่เหล็กโลก

15

16

17 ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2549 )

18 แรงทางไฟฟ้า (Electric Force) นั่นคือ...
เราพบว่า.. เมื่อนำหวีมาถูกับผม หรือใช้แผ่น PVC ถูกับผ้าสักหลาดแล้ว สามารถดูดกระดาษแผ่นเล็กๆ ได้ และเรียกแรงที่เกิดนี้ว่า แรงทางไฟฟ้า (Electric Force) นั่นคือ...

19 ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต ... นั่นเอง

20

21 600 ปี ก่อนคริสตศักราชหรือราวๆ ก่อนสมัยพุทธกาล 60 ปี
THALES OF Miletus

22 ค.ศ. 1600( พ.ศ. 2143 ) เซอร์วิลเลียม กิลเบิร์ต ( Sir William Gilbert )
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ค.ศ. 1600( พ.ศ ) เซอร์วิลเลียม กิลเบิร์ต ( Sir William Gilbert ) กิลเบิร์ตทดลองถูวัตถุอย่างอื่น ๆ อีกมากมายและพบว่าการถูวัตถุอื่นๆ ก็ทำให้เกิดอำนาจการดึงดูดเช่นเดียวกับการถูแท่งอำพัน เขาเรียกอำนาจดังกล่าวว่า อิเลกตริกซิตี้( Electricity )

23 กิลเบิร์ต ได้ทำการค้นคว้าอย่างละเอียด ทำบัญชีแยกสารที่ถูกันแล้วเกิดแรงดึงดูดหรือไม่เกิดแรงดึงดูดเป็นพวก ๆ เรียงลำดับสารที่ถูกันแล้วเกิดแรงดึงดูดหรือแรงผลักเป็นลำดับไว้ และได้ประดิษฐ์เครื่องมือวัดอำนาจไฟฟ้าอย่างง่ายๆ เขาเรียกเครื่องมือนี้ว่า อีเล็กโทรสโคป ( electroscope ) เขารวบรวมข้อมูลต่าง ๆ แล้วเขียนและได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือเรื่อง เดอ แมกเนท ( De Magnete )

24

25 ค.ศ.1654( พ.ศ.2197 ) นายกเทศมนตรีเมืองแมกดาเบิร์กในประเทศเยอรมันชื่อ ออต โต ฟอน เกอริค ( Otto Van Guericke )

26 ผู้ซึ่งประสบผลสำเร็จในการสร้าง เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสถิตที่มีอำนาจมากขึ้น ได้โดยเขาใช้ถุงมือถูกับลูกบอลกำมะถันซึ่งกำลังหมุนอย่างรวดเร็ว

27 เขาเรียกเครื่องมือของเขาเรียกว่า
ในปี ค.ศ ( พ.ศ.2289) มุสเคนบรอค ( Musschenbrock ) แห่งมหาวิทยาลัยเลเดนในฮอลแลนด์ประสบความสำเร็จในการสร้างเครื่องเก็บประจุไฟฟ้าได้ เขาเรียกเครื่องมือของเขาเรียกว่า ขวดเลเดน ( Leyden Jar )

28 ลักษณะเป็นขวดแก้วมีแผ่นดีบุก บุที่ด้านในและด้านนอก หลังจากการเก็บประจุไว้แล้วถ้าต่อแผ่นดีบุกด้วยตัวนำ สามารถทำให้ เกิดประกายไฟฟ้าได้

29 นักวิทยาศาสตร์คนแรก ที่ได้นำขวดเลเดน มาทดลองแล้ว
นักวิทยาศาสตร์คนแรก ที่ได้นำขวดเลเดน มาทดลองแล้ว.... อธิบายได้ว่า เมื่อนำวัตถุมาเสียดสีกัน วัตถุนั้น...จะสามารถดูดวัตถุเล็กๆ ได้ (แรงทางไฟฟ้า) นั่นเกิดจาก ประจุไฟฟ้า คือ...

30 เบนจามิน แฟรงคลิน นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน
เป็นบุคคลแรกที่อธิบายได้ว่า เมื่อนำวัตถุมาเสียดสีกัน วัตถุนั้น...จะสามารถดูดวัตถุเล็กๆ ได้ (แรงทางไฟฟ้า) นั่นเกิดจาก ประจุไฟฟ้า และได้จำแนกชนิดของประจุไฟฟ้าเป็น ประจุบวก ( + ) และประจุลบ ( - ) โดยที่ ประจุเหมือนกันจะผลักกัน ประจุต่างชนิดกันจะดูดกัน

31 ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2548 )

32 คำถามเพิ่มเติม ลองทำดูนะ

33 สนามไฟฟ้า

34 ทิศของสนามไฟฟ้า

35 ผลของสนามแม่เหล็กต่อ การเคลื่อนที่ของอนุภาค
ที่มีประจุไฟฟ้า

36 ประจุไฟฟ้า โปรตอน ประจุบวก (+) ประจุลบ (-) อิเล็คตรอน

37

38

39 ทิศของประจุบวกเคลื่อนที่

40 ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2549 )

41 ข้อสอบ O-Net ก.พ.2553

42 (บวกไปลบ)

43 ข้อสอบ O Net ( ปีการศึกษา 2549 )

44

45

46 ข้อสอบ O-Net ก.พ.2553

47

48


ดาวน์โหลด ppt 52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google