ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChoi Boripat ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์ นางสาวจิรวัฒน์ จตานนท์ วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554
2
ขอบเขตงานวิจัย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็น เกี่ยวกับการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์ ประชากรคือนิสิตนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตรครุศา สตรบัณฑิตและการศึกษาบัณฑิต วิชาเอกคณิตศาสตร์ (เอกเดี่ยว) ชั้นปีที่ 3 ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling) เป็นนิสิตนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ใน หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตและการศึกษาบัณฑิต วิชาเอกคณิตศาสตร์ (เอกเดี่ยว) ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 8 สถาบัน ได้แก่ จุฬาฯ มก มศว จันทร เกษม ธนบุรี บ้านสมเด็จ พระนคร และสวนสุนันทา จำนวนทั้งสิ้น 322 คน
3
ขอบเขตงานวิจัย ตัวแปรที่ศึกษา ความรู้ทางคณิตศาตร์
ความรู้เชิงมโนทัศน์ ความรู้เชิงกระบวนการ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ด้านการให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัย ด้านการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ด้านเนื้อหา ด้านกระบวนการเรียนการสอน ด้านสื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ด้านการวัดและประเมินการเรียนรู้
4
ขอบเขตงานวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เป็นเนื้อหาตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 ทั้ง 5 สาระที่เป็นองค์ความรู้คณิตศาสตร์รวมถึงสาระ แคลคูลัสและวิยุตคณิต เนื่องด้วยนิสิตนักศึกษาที่ เป็นประชากรและกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้เป็นผู้เรียนที่ ผ่านการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ตามหลักสูตรดังกล่าว
5
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
แบบวัดความรู้ทางคณิตศาสตร์ เป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ความรู้เชิงมโนทัศน์ (สร้าง 24 ข้อ ใช้จริง 16 ข้อ) ความรู้เชิงกระบวนการ (สร้าง 24 ข้อ ใช้จริง 16 ข้อ) ค่าความเที่ยง .78 ค่าความยากง่าย ค่า อำนาจจำแนก แบบวัดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ด้านการให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย (สร้าง 3 ข้อ ใช้จริง 2 ข้อ) การให้เหตุผลแบบนิรนัย (สร้าง 3 ข้อ ใช้จริง 2 ข้อ) ค่าความเที่ยง .73 ค่าความยากง่าย ค่า อำนาจจำแนก ด้านการสื่อสาร (สร้าง 6 ข้อ ใช้จริง 4 ข้อ) ค่าความเที่ยง .77 ค่าความยากง่าย ค่า อำนาจจำแนก
6
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน (แบบมตราส่วน ประเมินค่า 4 ระดับ สร้าง 32 ข้อ ใช้จริง 22 ข้อ ค่าความเที่ยง 0.886)
7
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ตัวแปร คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย SD ความรู้ทางคณิตศาสตร์ 32 12.12 3.827 - ความรู้เชิงมโนทัศน์ 16 5.84 2.20 - ความรู้เชิงกระบวนการ 6.23 2.41
8
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการฯ คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย SD ทักษะการให้เหตุผล 40 15.20 9.55 - อุปนัย 20 7.52 5.62 - นิรนัย 7.68 5.47 ทักษะการสื่อสาร 48 9.76 9.21
9
อภิปรายผล หลักสูตรที่เรียน มีรายวิชาที่เน้นทักษะและ กระบวนการน้อยเกินไป นศ.อาจขาดการคิดวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ ของข้อมูลที่กำหนดให้
10
ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดความรู้เชิงมโนทัศน์
11
ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดความรู้เชิงกระบวนการ
12
ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดด้านการให้เหตุผล
13
ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดด้านการสื่อสาร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.