ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
โดย กลุ่มที่ 3 1. นางเบญจมาศ สงวนวงษ์ 2. นายประสงค์ วินัยแพทย์ 3. นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์ 4. ว่าที่ รต.ยงยุทธ เรืองภัทรกุล 5. นางเพียงใจ พิชัยพลากร 6. นายภักดี ศิวะพรชัย 7. นายพิพัฒน์ วรมาลี 8. นางนิตยา หินทอง 9. นางภัทรพร ตู้ทรัพย์ประเสริฐ 10. นายอุดมศักดิ์ โรจน์วิบูลย์ชัย นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
2
ความเป็นมาและสภาพปัญหา
การเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุและการลดลงของประชากรวัยเด็ก ทำให้เป็นภาระของสังคมและรัฐ จึงควรมีระบบการออมที่ดี นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
3
ความเป็นมาและสภาพปัญหา
กองทุนการออมเพื่อเกษียณอายุ ที่มีอยู่ 1. ภาคบังคับ - กองทุนประกันสังคม - กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) 2. ภาคสมัครใจ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
4
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
เพื่อทราบระบบการออมฯ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและปัญหา อุปสรรค เสนอแนะแนวทางแก้ไข เพื่อให้การดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
5
บทวิเคราะห์ปัญหา เงินออมค่อนข้างต่ำทำให้ได้รับผลประโยชน์ต่ำ
ประเทศไทยมีเงินออมรวมทั้ง 3 ระบบ คิดเป็นร้อยละ 15 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ต่างประเทศร้อยละ 30 มีเงินออมเพื่อดำรงชีพในวัยเกษียณเฉลี่ยแล้วประมาณร้อยละ 22.25* ควรจะไม่น้อยกว่าร้อยละ 30-50 หมายเหตุ : * คำนวณโดย สศก. นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
6
ระบบการออมเพื่อเกษียณอายุของประเทศไทย
SWOT ของกองทุนการออม SWOT ประกันสังคม กบข. สำรองเลี้ยงชีพ Weakness คำนวณฐานเงินเดือนไม่เกิน 15,000 บาท ทำให้อัตราเพิ่มคงที่และผลประโยชน์น้อย (จากการศึกษาของ Deloitte คำนวณว่า กองทุนล้มละลาย ปี พ.ศ.2589) สมาชิกได้รับผลตอบแทนในระดับต่ำ ผู้สูงอายุมากขึ้น วัยทำงานลดลงทำให้เงินกองทุนหมดเร็ว ลงทุนหลักทรัพย์ความมั่นคงสูง ผลตอบแทนต่ำ ไม่มีระบบการตรวจสอบที่ดี คลอบคลุมเฉพาะข้าราชการ เป็นภาคสมัครใจ ถ้านายจ้างไม่จัดตั้ง ลูกจ้างไม่สามารถออมได้ การลงทุนในกองทุนรวมทำให้นโยบายการลงทุนไม่ยืดหยุ่น การเปลี่ยนย้ายงานทำให้เกิดการขาดตอน นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
7
สภาพปัญหา นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
หน่วย : ล้านคน แรงงานที่ไม่ได้อยู่ในระบบกองทุนการออมเพื่อเกษียณอายุ แรงงานในระบบ 1.24 ล้านคน แรงงานนอกระบบ ล้านคน นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
8
บทวิเคราะห์ปัญหา กระทรวงการคลังได้ศึกษาวิเคราะห์ระบบการออมระยะยาวอย่างต่อเนื่อง ขณะนี้ได้ยกร่างกฎหมายเพื่อแก้ปัญหาโดยจัดตั้งกองทุนการออมเพื่อการชราภาพ (กอช.) ซึ่งครอบคลุมแรงงานนอกระบบ นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
9
1. จัดตั้งกองทุนการออมเพื่อการเกษียณ (กอพ.)
บทสรุปและข้อเสนอแนะ 1. จัดตั้งกองทุนการออมเพื่อการเกษียณ (กอพ.) เป็นภาคบังคับของแรงงานในระบบ นายจ้างและลูกจ้างจ่ายเงินเข้ากองทุนทุกเดือนตามอัตราที่กำหนด รัฐสมทบจำนวนหนึ่ง ขึ้นอยู่กับความพร้อมของงบประมาณ ลูกจ้างสะสมเงินเพิ่มขึ้นได้แต่ไม่เกินขั้นสูงที่กฎหมายกำหนด กอพ. สามารถมอบหมายให้สถาบันการเงินหรือนิติบุคคลอื่นเป็นผู้บริหารเงินทุน นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
10
2. จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมการกำกับดูแลกองทุนแห่งชาติ
บทสรุปและข้อเสนอแนะ 2. จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมการกำกับดูแลกองทุนแห่งชาติ เพื่อกำกับดูแลการออมทุกระบบ กำหนดกฎเกณฑ์และประสานนโยบายของทุกกองทุนฯ 3. เปลี่ยนแปลงการจ่ายประโยชน์ทดแทน ให้สมาชิกสามารถเลือกรับเงินสะสมทั้งจำนวนหรือทยอยรับแล้วแต่จะเลือก เงินสมทบทยอยจ่ายเป็นรายเดือนภายในเวลาที่กำหนด นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
11
บทสรุป เพื่อให้การออมมีประสิทธิภาพและยั่งยืน สมาชิกกองทุนมีคุณภาพชีวิตที่ดีหลังเกษียณ นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
12
นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.