งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา

2 ผลการประเมินภาควิชา KPI 1 สัดส่วนการตีพิมพ์เทียบเท่าวารสารนาๆชาติต่ออาจารย์ในภาควิชา KPI 2 สัดส่วน impact factor ต่ออาจารย์ในภาควิชา KPI 3 ผลรวมสัดส่วนการตีพิมพ์เทียบเท่าวารสารนาๆชาติ KPI 4 ผลรวมสัดส่วน impact factor

3 ผลการประเมินภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา

4 ปัญหาและอุปสรรค 1. นโยบายการบริหาร 2. เวลา 3. ความรู้ทางวิจัย
4. ระบบสนับสนุนงานวิจัย 5. งานวิจัยค้างที่ไม่ได้ลงตีพิมพ์ 6. ค่าตอบแทนจากการวิจัย

5 เป้าหมาย ลงตีพิมพ์วารสารที่มี impact factor อย่างน้อย 1 เรื่อง/ 2 ปี/ 1 อาจารย์ การวิจัยไม่เป็นเฉพาะบุคคล และทำให้การวิจัยไม่เป็นเฉพาะบุคคล

6 แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. ด้านนโยบายการบริหาร
ปัญหา: - ไม่เน้นความสำคัญของการวิจัย - ไม่ได้นำผลงานวิจัยมาประกอบการประเมินอย่างชัดเจน กลยุทธ์: 1. จัดการวิจัยเป็น 1 ใน 4 ภาระงานหลักของอาจารย์ (การเรียนการสอน การบริการ การบริหารและการวิจัย) 2. นำผลงานวิจัยมาใช้ประเมินอาจารย์ประจำปี โดยให้น้ำหนักการประเมินเทียบเท่าภาระงานอื่นๆ (อย่างละ 25%) 3. ให้คะแนน Bonus กรณีผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์วารสารที่โดดเด่นหรือได้รับการจดสิทธิบัตร

7 แนวทางการแก้ไขปัญหา 2. ด้านเวลา
ปัญหา: การบริหารเวลา เนื่องจากภาระงานอื่นๆ มากเกินไป กลยุทธ์: 1. จัดวันว่าง 1 วัน/สัปดาห์ สำหรับการทำวิจัย 2. แบ่งภาระการเรียนการสอน การบริการและการบริหารให้เป็นสัดส่วนพอๆกัน เพื่อให้มีเวลาทำวิจัย

8 แนวทางการแก้ไขปัญหา 3. ด้านความรู้ทางวิจัย
ปัญหา: หาหัวข้อวิจัย การค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง หลักการและระเบียบ วิธีวิจัย ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ในการ วิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนงานวิจัยลงตีพิมพ์ กลยุทธ์: 1. สนับสนุนให้อาจารย์เข้าอบรมหัวข้อที่เกี่ยวกับการวิจัยและระบาดวิจัย 2. จัดอบรมการทำวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลและการลงตีพิมพ์ในภาควิชา 3. ประชุมวิจัยทุก 2 เดือนเพื่อหารือหัวข้อวิจัย รวมถึงติดตามงานวิจัย

9 แนวทางการแก้ไขปัญหา 4. ระบบสนับสนุนงานวิจัย
ปัญหา: ความเพียงพอของแหล่งค้นคว้า ระบบสืบค้นข้อมูล หน่วยงาน ภายในที่สนับสนุนการทำวิจัย กลยุทธ์: 1. จัดสรรผู้ช่วยวิจัยตามโครงการวิจัยตามหน่วยผู้ช่วยวิจัย 2 คน แบ่ง การรับผิดชอบตามหน่วยเฉพาะทาง : หน่วย Rhino Allergy + Oto Otoneuro 1 คน : หน่วย Oncology + snoring+ Larynx Swallow 1 คน 2. พัฒนาศักยภาพผู้ช่วยวิจัย เพื่อช่วยลงข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล

10 แนวทางการแก้ไขปัญหา 3. สร้างฐานข้อมูลตามหน่วยย่อยต่าง ๆ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและสามารถใช้ในการพัฒนางานวิจัยต่อไปในอนาคต 4. จัดหาโปรแกรมการคำนวณทางสถิติที่ถูกลิขสิทธิ์ในภาควิชา 5. ทำข้อมูลวารสารของ ENT ที่มี impact และเรียงตาม impact factor จากสูงไปต่ำ เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกลงตีพิมพ์

11 แนวทางการแก้ไขปัญหา 5. งานวิจัยค้างที่ไม่ได้ลงตีพิมพ์
ปัญหา: งานวิจัยหลายโครงการมีข้อมูลแล้วไม่ได้ลงตีพิมพ์ กลยุทธ์: สนับสนุนให้นำข้อมูลงานวิจัยที่เสร็จหรือไม่ทำต่อ ไปวิเคราะห์และ ลงตีพิมพ์ โดยมีสำรวจสถานภาพโครงการวิจัยเก่าปีละครั้งและ แจ้งหัวหน้าโครงการเพื่อกระตุ้นให้มีการนำข้อมูลมาตีพิมพ์

12 แนวทางการแก้ไขปัญหา 6. ค่าตอบแทนจากการวิจัย
ปัญหา: ผลประโยชน์หรือค่าตอบแทนน้อย ทำให้ไม่จูงใจให้ทำวิจัย และ การวิจัยเป็นเฉพาะบุคคล กลยุทธ์: 1. นำผลงานวิจัยที่ลงตีพิมพ์ไปเป็นคะแนนหรือ bonus ในการประเมินอาจารย์ 2. ส่งเสริมให้อาจารย์ลงตีพิมพ์ในวารสารที่มี impact factor สูง โดยให้ค่าตอบแทนจากภาควิชาเพิ่มสำหรับงานวิจัยที่ลงตีพิมพ์ตาม impact factors x 5000 บาท แต่ไม่เกิน บาท เงินไม่ใช่คำถาม แต่เงินเป็นคำตอบสุดท้าย เงินไม่ใช่พระเจ้า แต่พระเจ้าคือเงิน

13 Thank you for your attention!
หวังว่ากลยุทธ์นี้จะช่วยให้ถึงเป้าหมายที่วางไว้ แม้จะยากเย็นตะเกียกตะกายเพียงใด ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google