ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSukanda Jivacate ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การเขียนรายงานสถานการณ์ การเฝ้าระวังและเตือนภัย ทางสังคม
๗ มิ.ย. ๒๕๕๓
2
วัตถุประสงค์ในการรายงานฯ
เพื่อรายงานผลการเฝ้าระวัง เพื่อเสนอข้อคิดต่อคณะกก.ของจังหวัด เพื่อบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นองค์ความรู้ในการเฝ้าระวัง
3
การเขียนรายงาน มีบทบาทใน การตรวจสอบ ความผิดปกติของข้อมูล ใช้นำเสนอระดับความเร่งด่วน และข้อเสนอในการหาทางออก
4
กระบวนการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม
นำเข้า ข้อมูล นำเสนอ/ ตัดสินใจ ประมวลผล/ ตีความ/พยากรณ์ -แจ้งเตือน/สื่อสาร -ออกมาตรการ -กำหนดโครงการ เฝ้าระวังต่อไป ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ
5
๒. สถานะของจังหวัด/ความจำเป็น/หลักการเหตุผล
รายงานการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคมของจังหวัด เสนอ คณะกก/ทำงาน/ กลุ่มเป้าหมาย ประเด็นการเฝ้าระวัง ๒. สถานะของจังหวัด/ความจำเป็น/หลักการเหตุผล
6
๓. ปัจจัย/ข้อบ่งชี้ในการเฝ้าระวัง
๔. การเก็บข้อมูล/แหล่งที่มาของข้อมูล ๕. แผนภาพข้อมูล/ตารางข้อมูล ๖. การอ่านผลของการเฝ้าระวัง
7
๗. ผลกระทบ/การตีความ /การประเมินสถานการณ์ /ความรุนแรง
๗. ผลกระทบ/การตีความ /การประเมินสถานการณ์ /ความรุนแรง ๘. ทางออก/แนวทางการจัดการ/มาตรการการเตือนภัย
8
ประเด็นการประชุมกลุ่ม
เขียนรายงานโดยใช้ข้อมูลในการอ่านผล หรือ กลุ่มนำมา เขียนรายงานตามแบบที่กำหนด
9
ข้อควรระวัง อย่าลืมประเด็นที่ต้องการนำเสนอ ท่านกำลังเสนอต่อใคร
อย่าใส่สี/รายละเอียดจนเกิด ความเข้าใจผิด อย่าลืมข้อเสนอเป็นทางออก
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.