ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRampha Sivaraksa ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ประเทศไทยในสังคมโลก วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร 12 ตุลาคม 2549
2
ที่ผ่านมา ปัจจุบัน รัฐบาลเน้น dual track policy เศรษฐกิจนำ ทุกนโยบาย
ในประเทศ ฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานราก สร้างงาน สร้างโอกาส สร้างรายได้ ลดรายจ่ายของประชาชน ต่างประเทศ - การทูตเชิงรุก สร้างพันธมิตร ขยายโอกาส - เสริมสร้างหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เน้นการส่งเสริมขีดความสามารถในการ แข่งขันระหว่างประเทศของไทย ในโลกทุนนิยม / โลกาภิวัตน์ - ปฏิรูประบบการทำงานให้มีบูรณาการของ การดำเนินนโยบายต่างประเทศ (Internal Management of Foreign Policy) Maximum Coverage, Minimum Resources
3
โลกาภิวัตน์ FREE FLOW TECHNOLOGY & KNOWLEDGE PEOPLE TRADE & SERVICES
CAPITAL
4
ประเด็นสำคัญของรัฐบาลปัจจุบัน
คุณธรรมนำทุกนโยบาย Transparency, justice, economy of resources, efficiency - เน้นความสมดุล สายกลาง พอเพียง (Balance, Moderation, Sufficiency) - Actions speak louder than words. หลักการบริหารประเทศ ประเด็นที่ต่างประเทศ เฝ้ามอง กระบวนการประชาธิปไตยในประเทศไทย - ความปรองดองในชาติ - ความมั่นคง แก้ไขปัญหาภาคใต้ - เศรษฐกิจพอเพียง ความสุขของสังคม - ดำเนินการตามกระบวนการ ประชาธิปไตยให้มีเลือกตั้ง free and fair ใน 1 ปี ประเด็นที่รัฐบาลให้ ความสำคัญ
5
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
“...เวลานี้บ้านเมืองได้รับความเดือดร้อน นอกจากน้ำท่วม ก็มีอย่างอื่น ที่มีคนเขาพูดมาก โดยเฉพาะไม่ใช่คนไทย คนต่างประเทศพูดว่าประเทศไทยไม่ดี ก็จะต้องพยายามแก้ไข ถ้าไม่แก้ไข ประเทศก็เสียชื่อ เมื่อเสียชื่อแล้วก็จะเสียหายในเรื่องที่ประเทศชาติจะอยู่เย็นเป็นสุข ถ้าเขาว่าคนไทยไม่ดี ก็จะทำให้คนไทย ไม่ใช่เฉพาะผู้ที่ปกครอง แต่ทุกคนก็กลายเป็นคนไม่ดี ก็ต้องพยายามแก้ไขอะไรที่ไม่ดี ให้ดีขึ้น ซึ่งเป็นงานที่ยาก หนัก ก็ขอให้ท่านได้มีกำลังใจปฏิบัติงาน เพื่อให้ผ่านพ้นอุปสรรคต่างๆ...”
6
ต่างประเทศ ภายในประเทศ
แนวทางการบริหารประเทศกับทิศทางการดำเนินนโยบายต่างประเทศ ต่างประเทศ การต่างประเทศ สนับสนุนการแก้ไข ปัญหาภาคใต้ ภายในประเทศ สานต่อมิตรภาพ เน้นความต่อเนื่อง ความร่วมมือ พันธกรณีกับ นานาประเทศ ความมั่นคงภายใน ปัญหาภาคใต้ ความปรองดองในชาติ ความสุขของสังคม ประชาธิปไตย จัดเลือกตั้ง free & fair ใน 1 ปี เศรษฐกิจพอเพียง นานาชาติมั่นใจ ภาพลักษณ์ดี แข่งขันระหว่าง ประเทศ เน้นความเป็นธรรม เสถียรภาพ
7
ASEAN
8
11 th ASEAN SUMMIT, Kuala Lumpur Malaysia 2005
9
ASEAN+3 SUMMIT
10
FIRST EAST ASIA SUMMIT ,14 December 2005
11
ACMECS 5 Countries
12
ACMECS SUMMIT 2 November 2005
13
IMT-GT
14
IMT-GT was established in 1993 by the governments of Indonesia, Malaysia and Thailand with the aim of promoting a growth area under a trilateral scheme of sub-regional economic cooperation. Its focus is on investment, technology transfer, production cooperation and exploitation of natural resources in Sumatera, Northern Peninsular Malaysia and Southern Thailand
15
IMT-GT IMT-GT consists of 8 provinces in Southern Thai, 9 Malaysian states and the whole Sumatera Island of Indonesia. With total population in the whole IMT-GT area have reach 100 million people; IMT-GT is seen as one of the most active and successful sub-regional economic cooperation in the world.
16
Greater Mekong Subregion (GMS) ความร่วมมือของ 6 ประเทศ
คือ ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (ยูนนาน) ตั้งแต่ปี พ.ศ (ค.ศ.1992)
18
ภาพแสดงเส้นทางคมนาคมทางถนน 3 ทางเลือกที่สามารถเชื่อมกับพรมแดนพม่า
Delhi Assam Kunming China Manipur India Bangladesh Jinghong Kengtung Mandalay Myanmar Boten Laos Mae Sai Chiang Khong Chiang Rai Rangoon Lumpang Bay of Mae Sod Mukdahan Da Nang Pitsanulok Bengal Savannakhet Mawlamyaing Khon Kaen Bangkok Tavoy Aranyaprathet Nam Tok Poipet East-West Corridor Sisophon Cambodia ภาพแสดงเส้นทางคมนาคมทางถนน 3 ทางเลือกที่สามารถเชื่อมกับพรมแดนพม่า ทางเลือกที่ 1 เส้นอรัญประเทศ-ปอยเปต-ศรีโสภณ-เชื่อมไทย-กัมพูชา-เวียดนาม-สุดทางที่ โฮจิมินห์-ผ่านกรุงเทพฯไปทางตะวันตกสุดชายแดนพม่า-สุดทางที่บ้านน้ำตกในเขตไทย- ผ่านเข้าพม่าที่ทวาย-เมาะละแหม่ง-ย่างกุ้ง-มัณฑะเลย์-เข้าพรมแดนอินเดียที่แคว้นมณีปุระ-อัสสัม ทางเลือกที่ 2 เส้น East-West Corridor - ผ่านเข้าพรมแดนพม่าทางแม่สอด-เมียวดี- เมาะละแหม่ง-ย่างกุ้ง-มัณฑะเลย์-เข้าพรมแดนอินเดียที่แคว้นมณีปุระ-อัสสัม ทางเลือกที่ 3 เส้นทางเหนือ ผ่านแม่สายในเขตไทย-เข้าพรมแดนพม่า-ผ่านเชียงตุง-มัณฑะเลย์-เข้าพรมแดนอินเดียที่แคว้นมณีปุระ-อัสสัม หากไทย-พม่า-อินเดีย สามารถเชื่อมเส้นทางคมนาคมทางบกเข้าด้วยกันแล้ว จะสามารถเชื่อมกับเส้นทางAsian Highway ต่อไปยังทวีปยุโรปโดยผ่านตุรกี ( ดังภาพต่อไป) Laem Chabang Phnom Penh Ho Chi Minh City Viet Nam North-South Corridor Andaman Sea
19
จีน พม่า ลาว เวียดนาม ภาพรวมของ EWEC ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์
เชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิก-มหาสมุทรอินเดีย การไหลเวียน ทุน สินค้า-บริการ ประชากร ข้อมูลสารสนเทศ และความรู้ ไทย กัมพูชา ช่องแคบมะละกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ช่องแคบซุนด้า ช่องแคบลอมบ็อค แหล่งที่มาของข้อมูล :
20
(แม่สอด จ.ตาก – จ.มุกดาหาร)
ภาพรวม EWEC พม่า North South Corridor ระยะทาง 777 กม. (แม่สอด จ.ตาก – จ.มุกดาหาร) เวียดนาม เวียงจันทน์ ลาว เมียววะดี-แม่สอด East West Corridor มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ประเทศไทย กัมพูชา Southern Corridor
21
พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา
ความเชื่อมโยงระหว่างเส้นทาง EWEC กับประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดที่มุ่งเน้น พม่า กลุ่มที่ 6.1 (เลย หนองบัวลำภู อุดรธานี หนองคาย) 1. เกษตร/ 2. การค้า การลงทุน กลุ่มที่ 6.2 (สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ์ มุกดาหาร) 1. ค้าชายแดน 2. ท่องเที่ยว กลุ่มที่ 2.1 (ตาก พิษณุโลก อุตรดิตถ์ สุโขทัย เพชรบูรณ์) 1.ศูนย์กลางการค้าและบริการเชื่อม East West Corridor 2. ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม นิเวศน์ กลุ่มที่ 6.3 (ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม) 1. ข้าวหอมมะลิ/ 2. Logistics ลาว การค้าการลงทุน และโลจิสติกส์ (5 กลุ่ม) เวียดนาม การท่องเที่ยว (4 กลุ่ม) กัมพูชา การเกษตร (3 กลุ่ม) กลุ่มที่ 7.1 (ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์) 1. ท่องเที่ยว/ 2.ไหม การพัฒนา อุตสาหกรรม (2 กลุ่ม) กลุ่มที่ 7.2 (ยโสธร อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี) 1. ประตูการค้า การคมนาคม และการท่องเที่ยวเชื่อมกับประเทศเพื่อนบ้าน/ 2. ข้าวหอมมะลิปลอดภัยจากสารพิษ
22
เสริมสร้างควาร่วมมือ
ขีดความสามารถ ในลักษณะครอบคลุมทั้งเอเชีย มีประเทศสมาชิก 30 ประเทศ 19 โครงการความร่วมมือ ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ โดยริเริ่มของไทย
25
APEC 21 Economies
26
APEC SUMMIT THAILAND
27
CICA Countries CONFERENCE ON INTERACTION AND CONFIDENCE-BUILDING MEASURES IN ASIA
28
Non-Aligned Movement 116 Countries
29
The Forum for East Asia Latin America Cooperation (FEALAC)
30 Members
30
ASEM 25 EU 13 Asian Countries
31
World Trade Organization –WTO
149 countries
33
United Nations 192 Countries
36
Organization of Islamic Conference (OIC) 57 Members 3 Observers
37
The Organization for Security and Co-operation in Europe
OSCE countries aims to prevent conflict and manage crises in Europe, the Caucasus and central Asia.
38
Organisation for Economic Co-operation and Development – OECD 30 countries
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.