งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Lecture 2 – องค์กรและการบริหารโครงการ (Organization and Project Planning) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Quiz 1 นักศึกษาคิดว่าตัวเองมีคุณสมบัติใดบ้างที่เหมาะจะเป็น SA ตอบมา 2 ข้อ หน้าที่ของ SA ที่สำคัญคืออะไร ตอบมา 3 ข้อ ความรับผิดชอบของ SA มีอะไรบ้าง ตอบมา 3 ข้อ อธิบายเหตุผลประกอบ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

3 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Contents องค์กรและระบบ (System and Organization) ประเภทขององค์กร (Organization Type) สิ่งแวดล้อมต่อองค์กร (Organizations Environment) โครงสร้างขององค์กรและประเภทของระบบ (System Type) การจัดตั้งและบริหารโครงการ กระบวนการบริหารโครงการ การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และผลประโยชน์ที่จะได้รับ แผนภาพแกนต์ (Gantt Chart) ผังองค์กร (Organization Chart) ผังงานระบบ (System Flow Chart) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

4 องค์กรและระบบ (Organization and System)
องค์กร คือ การรวมตัวของหน่วยงานย่อย ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ภายใต้สิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อการวิเคราะห์และออกแบบสารสนเทศขององค์กรนั้น ๆ ระบบ หมายถึง การนำองค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ คน (people) ทรัพยากร (Resource) แนวคิด(concept) และขบวนการ (process) มาผสมผสานการทำงานร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งที่วางแผนไว้ องค์ที่หวังผลกำไร (Profits Organiztion) – เป็นองค์กรที่มีจุดมุ่งหมายไปในเรื่องของการสร้างผลกำไรให้เกิดขึ้นภายในองค์กรมากที่สุด ซึ่งสามารถเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็น ธุรกิจ (Business) องค์กรที่ไม่หวังผลกำไร (Nonprofit Organization) – เป็นองค์กรที่ไม่มุ่งเน้นในเรื่องผลกำไร แต่มักจะทำประโยชน์ให้กับสังคม ตัวอย่างเช่น องค์กรที่เป็นมูลนิธิต่าง ๆ องค์กรที่ทำงานด้านการเผยแผ่ศาสนา และองค์กรการศึกษา เป็นต้น ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

5 สิ่งแวดล้อมต่อองค์กร (Organizational Environment)
สิ่งแวดล้อมด้านชุมชน ภูมิศาสตร์ สภาพความเป็นอยู่ของประชากร สิ่งแวดล้อมด้านเศรษฐกิจ การตลาด การแข่งขัน สิ่งแวดล้อมด้านนโยบาย การปกครองของแต่ละท้องถิ่น ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

6 ประเภทขององค์กร (Organization type)
Formal organization :มีโครงสร้างอย่างมีหลักเกณฑ์ โดยระบุหน้าที่ ความสัมพันธ์ของสมาชิกในองค์กรอย่างชัดเจน ไม่ยืดหยุ่น เช่น ห้างสรรพสินค้า คณะวิทยาศาสตร์ Informal organization : องค์กรที่มีโครงสร้างไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสถานการณ์ในขณะนั้นขององค์กร เช่น ร้านค้าโดยทั่วไป องค์กรแบบเป็นทางการ (Formal organization) คือองค์กรที่มีการกำหนดโครงสร้างอย่างมีหลักเกณฑ์ โดยระบุความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในองค์กรเกี่ยวกับ อำนาจหน้าที่ ข้อผูกพัน และความรับผิดชอบ ตลอดจนการวางแผนและเกณฑ์ต่าง ๆ อย่างชัดเจน ไม่ยืดหยุ่น องค์กรแบบไม่เป็นทางการ (Informal organization) คือองค์กรที่จัดโครงสร้างขององค์กรไม่รัดกุม ไม่มีกฎเกณฑ์ ไม่กำหนดความสัมพันธ์ของสมาชิก นักวิเคราะห์ระบบเสมือนผู้ที่จะไปเปลี่ยนวิธีดำเนินการภายในองค์กร ซึ่งอาจจะปรับปรุงโครงสร้างหรือขั้นตอนการทำงานขององค์กรใหม่ หรือเปลี่ยนวิธิดำเนินงานเดิมเป็นใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งจะต้องดูว่ามีผลกระทบกับองค์กรอย่างไรบ้าง วิธีการดำเนินงานอะไรจะเปลี่ยนบ้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องพฤติกรรม เพราะการนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาแทนระบบเดิมนั้นอาจขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ส่วนบุคคล หรือวิธีการปฏิบัติไม่สามารถปฏิบัติตามได้ ทำให้เกิดความสับสนขัดแย้งขึ้น ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

7 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงสร้างขององค์กร โครงสร้างองค์กรแบบงานหลัก (Line or Hierarchy Organization structure) โครงสร้างองค์กรแบบงานหลักและงานที่ปรึกษา (Line and Staff Organization structure) โครงสร้างองค์กรตามโครงการ (Project Organization structure) โครงสร้างองค์กรในรูปเมทริกซ์ (Matrix Organization structure) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

8 โครงสร้างองค์กรแบบงานหลัก (Line or Hierarchy Organization structure)
ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร รองฯฝ่ายตลาด รองฯฝ่ายการเงิน รองฯฝ่ายผลิต รองฯบุคคล งบประมาณ บัญชี ตรวจสอบ ประมวลผล คือแต่ละหน่วยงานมีการกำหนด การสั่งการ และการควบคุม ผ่านสายการบังคับบัญชาตามลำดับชั้นจากผู้บริหารระดับสูงไปยังผู้ใต้บังคับบัญชาอันดับรองลงมา ซึ่งเจ้าหน้าที่แต่ละหน่วยจะรับคำสั่ง คำแนะนำและรายงานต่อผู้บังคับบัญชาคนเดียว ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

9 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงสร้างองค์กรแบบงานหลักและงานที่ปรึกษา (Line and staff Organization structure) ประธาน รองประธาน บริการข้อมูล การเงิน การตลาด ฝ่ายผลิต การจัดโครงสร้างขององค์กรนี้จะมีหน่วยงานที่ปรึกษาเข้ามา เพื่อช่วยศึกษาค้นคว้า ให้คำแนะนำ ให้บริการและแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้หน่วยงานหลัก หน่วยงานที่ปรึกษานี้จะเป็นอิสระขึ้นตรงกับผู้บริหารในฝ่ายหรือแผนกนั้น ๆ หน่วยงานที่ปรึกษาสามารถเกิดขึ้นได้ในทุกระดับการจัดการ เช่น องค์กรอาจจะจัดหน่วยงานที่ปรึกษาเฉพาะเรื่องคอยให้คำแนะนำสรุปสารสนเทศให้กับประธานบริษัท แต่ถ้าระบบสารสนเทศนั้น ๆ ใช้เฉพาะงานในหน่วยงานบางหน่วย ก็อาจจะจัดหน่วยงานที่ปรึกษาให้ขึ้นตรงกับผู้บริหารที่ใช้ข้อมูลในหน่วยงานนั้น ๆ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

10 โครงสร้างองค์กรตามโครงการ (Project Organization structure)
ผู้บริหารสำนักงาน โครงงานที่ 1 ฝ่ายประมวลผล ฝ่ายการตลาด ฝ่ายผลิต ฝ่ายบุคคล ฝ่ายสั่งซื้อ ฝ่ายการเงิน คือโครงสร้างที่จะเกิดขึ้นเมื่อมีโครงงาน หรือปัญหาใหม่เข้ามา ผู้บริหารจะตั้งทีมงานขึ้นมาเป็นกลุ่ม เพื่อจัดการกับโครงงานดังกล่าว และเมื่อโครงงานนั้นสิ้นสุด หน่วยงานนั้น ๆ จะถูกยุบไปด้วย แต่ะละโครงงานจะมีหน่วยงานย่อยและอำนาจหน้าที่ในตัวเอง ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

11 โครงสร้างองค์กรในรูปเมทริกซ์ (Matrix Organization structure)
ผู้บริหารทั่วไป การตลาด การขาย การเงิน การผลิต บุคลากร ผู้จัดการโครงการที่1 ผู้จัดการโครงการที่2 เจ้าหน้าที่ คือการจัดองค์กรที่นำเอาสายงานหลัก กับโครงงานมาร่วม และใช้ทรัพยากรร่วมกันตาม ทำให้สายงานบังคับบัญชา และการสั่งการไม่ชัดเจน แต่อาจจะใช้ได้ดีในกรณีที่สถานการณ์ภายในที่มากระทบกับองค์กรที่ไม่คงที่ หรือมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วเมื่อสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไป องค์กรไม่สามารถปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมได้ ทำให้การทำงานล่าช้า จึงต้องมีการปรับองค์กรเป็นแบบเมทริกซ์ โดยแทรกอยู่ในโครงสร้างเดิม ลดความสัมพันธ์ของบุคคลตามสายการบังคับบัญชา โดยหัวหน้าโครงงานจะรับผิดชอบงาน แต่ไม่มีอำนาจพิจารณาความดีความชอบ เมื่อสิ้นสุดโครงงาน จะกลับเข้าหน่วยงานเดิมหรือสลายตัวไป มีประโยชน์มากในองค์กรขนาดใหญ่ เพราะทรัพยากรเริ่มจำกัด เจ้าหน้าที่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

12 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การจัดตั้งโครงการ โครงการต้องมีเพียงวัตถุประสงค์เดียว โครงการต้องทำเพียงชั่วครั้งชั่วคราว คือ มีระยะเวลาเริ่มต้น และสิ้นสุด โครงการต้องการใช้ทรัพยากรที่หลากหลาย โครงการจะต้องรู้ว่าลูกค้าคือใคร หรือใครเป็นผู้ให้งบประมาณกับโครงการ โครงการจะก่อให้เกิดความไม่แน่นอน ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

13 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การจัดตั้งโครงการ การบริหารทุก ๆ โครงการจะมีกฎเกณฑ์ ข้อบังคับเป็นตัวแปรหลักอยู่ 3 ตัว เรียกว่า Triple constraint คือ ขอบเขต เวลา ค่าใช้จ่ายของโครงการ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

14 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การจัดตั้งโครงการ ขอบเขตของโครงการ เป็นเรื่องที่สำคัญมากที่สุด ต้องคำนึงถึงเป็นอันดับแรก และต้องระบุให้ชัดเจน เวลา จะกำหนดระยะเวลาได้ก็ต่อเมื่อระบุขอบเขตแล้ว จะใช้เวลานานเท่าไรที่จะทำให้โครงการ เสร็จสิ้น ค่าใช้จ่าย จะกำหนดได้ก็ต่อเมื่อระบุขอบเขตแล้ว ควรจะใช้เงินเท่าไรเพื่อให้โครงการเสร็จสิ้น ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

15 การพิจารณาพัฒนาโครงการระบบสารสนเทศ
ประกอบด้วยปัจจัย 5 ประการคือ 1. ได้รับความสนับสนุนจากผู้บริหาร หรือ ฝ่ายบริหาร 2. อยู่ในช่วงเวลาที่เหมาะสม 3. มีโอกาสต่อความสำเร็จสูง 4. มีทรัพยากรในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพียงพอ 5. มีความคุ้มค่าต่อการลงทุนขององค์กร ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

16 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การบริหารโครงการ การบริหารโครงการ คือการนำเอาความรู้ ความชำนาญ เครื่องมือ และเทคนิคต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้กิจกรรมของ โครงการเป็นไปตามความต้องการ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

17 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การบริหารโครงการ Stakeholders คือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับโครงการ 4 knowledge areas ที่เป็นหลักของการบริหารโครงการ Project scope management จะประกอบด้วยการกำหนด และการจัดการงานทุก ๆ อย่าง ตามที่ต้องการเพื่อให้โครงการประสบความสำเร็จ Project time management คือการประมาณเวลาในการทำโครงการว่า จะต้องใช้เวลา นานเท่าไรโครงการถึงจะเสร็จสิ้น หรือการทำงานให้ทันตามเวลาที่กำหนดไว้ Project cost management ประกอบด้วยการเตรียม และการจัดการงบประมาณ สำหรับโครงการ Project quality management ต้องแน่ใจว่าโครงการจะเป็นที่พึงพอใจกับลูกค้า ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

18 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การบริหารโครงการ 4 knowledge areas ที่ช่วยสนับสนุนการบริหารโครงการ Project human resource management คือการใช้คนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการอย่าง คุ้มค่า และมีประสิทธิภาพ Project communications management รวมไปถึงการทำให้เกิด การรวบรวม การ เผยแพร่ และเก็บข้อมูลของโครงการ Project risk management ประกอบไปด้วย การชี้เฉพาะ การวิเคราะห์ และการรับผิดชอบต่อ ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับตัวโครงการ ซึ่งถ้าเกิดขึ้นจะมีผลทำให้โครงการล้มได้ Project procurement management รวมถึงการได้มา หรือการจัดหาสินค้า และบริการ สำหรับใช้ในโครงการจากองค์กรภายนอก ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

19 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วงจรชีวิตโครงการ 1. นิยามโครงการ (Definition) 2. การวางแผน (Planning) 3. ดำเนินการ (Execution) 4. การส่งมอบ (Delivery) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

20 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วงจรชีวิตโครงการ 1. นิยามโครงการ (Definition) – ทำความเข้าใจกับโครงงานที่จะทำ และเตรียมข้อมูลที่จะใช้ใน phase ต่อไป 1.1 เป้าหมาย 1.2 ข้อกำหนด 1.3 งาน (ย่อยๆ) 1.4 ผู้รับผิดชอบ 2. การวางแผน (Planning) 2.1 กำหนดการ 2.2 งบประมาณ (ของแต่ละงาน) 2.3 ทรัพยากร 2.4 ความเสี่ยง 2.5 บุคลากร ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

21 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วงจรชีวิตโครงการ 3. ดำเนินการ (Execution) 3.1 รายงานสถานภาพ ว่าจะเสร็จเร็ว/ช้า ค่าใช้จ่ายมาก/น้อยกว่าที่ตั้ง ผลลัพธ์เป็นตามที่กำหนดหรือไม่ 3.2 การเปลี่ยนแปลง 3.3 คุณภาพ 3.4 การพยากรณ์ 4. การส่งมอบ (Delivery) 4.1 การฝึกอบรม (ให้ลูกค้า) 4.2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง – ใบเสร็จ บันทึกการเปลี่ยนแปลง shop drawing การทำ preventive maintenance 4.3 การปลดปล่อยทรัพยากร 4.4 การมอบงานใหม่ 4.5 บทเรียนจากอดีต – ประวัติโครงการ ปัญหาต่างๆ ที่พบจากการทำงาน ซึ่งสำคัญกับผู้จัดการหน้าใหม่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

22 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วงจรชีวิตโครงการ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

23 กระบวนการบริหารโครงการ
กระบวนการเริ่มต้น กระบวนการวางแผน กระบวนการดำเนินการ กระบวนการควบคุม กระบวนการปิดโครงการ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

24 กระบวนการบริหารโครงการ
กระบวนการเริ่มต้น - รวมถึงการกระทำเพื่อเริ่มต้นหรือจบโครงการ และระยะต่างๆ ของโครงการ การเริ่มต้นของโครงการว่า มีเนื้อหาสาระอะไร ข้อมูลอะไรควรจะมีก่อน มีกิจกรรมอะไรบ้างอยู่ในกระบวนการนี้ กระบวนการวางแผน - เมื่อได้ข้อมูลในเบื้องต้นแล้ว ต่อไปเป็นช่วงในการพัฒนาขั้น initiating รวมถึงกลอุบาย และการรักษางานให้เป็นไปตามแบบแผน จะได้แน่ใจว่าโครงการได้ทำตามความต้องการของบริษัท การวางแผนโครงการต้องกำหนดแต่ละ knowledge area ที่สัมพันธ์กับโครงการ กระบวนการดำเนินการ - คือการนำเอางานที่วางแผนไว้ไปดำเนินงาน จะประกอบด้วย การรวมกลุ่มคน และทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อให้สำเร็จตามแผนของโครงการ และดำเนินการให้โครงการดำเนินต่อไปยังระยะถัดไป ซึ่งอาจะเกิดปัญหา เช่น งานที่ทำไม่เป็นไปตามที่วางแผนไว้ หรืออาจจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงอะไรบางอย่าง ซึ่งผู้จัดการโครงการจะต้องจัดการกับสิ่งเหล่านี้ให้ได้ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

25 กระบวนการบริหารโครงการ
กระบวนการควบคุม - ต้องแน่ใจว่ากลุ่มผู้ทำโครงการได้ทำงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ผู้จัดการโครงการ และกลุ่มผู้ตรวจสอบ และเกณฑ์วัดความก้าวหน้าการวางแผนโครงการ และทำการแก้ไขเมื่อมีความจำเป็น เนื่องจากเมื่อนำงานมาปฏิบัติจริงมันอาจจะไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ในระหว่างที่ทำงานเกิดปัญหาอะไร ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของเวลา ซึ่งพอมีปัญหาด้านเวลาก็จะไปกระทบด้านเงิน ซึ่งช่วงนี้เป็นช่วงที่สำคัญ ต้องช่วยให้คนในช่วง Executing ทำงานให้ได้ตามแผน งานจะได้ก้าวหน้า ถ้าควบคุมแล้วไม่เป็นไปตามแผนก็อาจจะต้องมีการปรับแผนใหม่ให้เหมาะสม กระบวนการปิดโครงการ - ประกอบด้วย รูปแบบการยอมรับของโครงการ และปิดโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งลูกค้าหรือ stakeholder ต้องพอใจกับงาน ผลลัพธ์ที่ได้จากช่วงนี้คือ บทสรุปของการปิดงาน ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

26 การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และผลประโยชน์ที่จะได้รับ
ค่าใช้จ่ายทางตรง (Tangible or Direct) ค่าใช้จ่ายทางอ้อม (Indirect) กลุ่มค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์สำหรับเจ้าของระบบ ประหยัดค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้ ผลประโยชน์ที่คิดเป็นตัวเงินไม่ได้ กลุ่มผลประโยชน์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

27 ค่าใช้จ่ายทางตรง (Tangible or Direct)
อุปกรณ์ด้านคอมพิวเตอร์ Software, Hardware, การสื่อสาร ค่าพนักงานปฏิบัติการ ค่า file conversion ค่าปรับปรุงสถานที่ ค่าบำรุงรักษา Software ,Hardware ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบ ค่าใช้จ่ายในการการทำคู่มือ ค่าใช้จ่ายในการสำรองคู่มือ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

28 ค่าใช้จ่ายทางอ้อม (Indirect)
ค่าอบรมพนักงาน ค่าการเปลี่ยนแปลงระบบปฏิบัติงาน ค่าใช้จ่ายเนื่องจากจำนวนคนที่เพิ่มขึ้นในช่วงแรก ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

29 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กลุ่มค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายในการสำหรับสร้างระบบ (the cost building the system) ค่าใช้จ่ายในการ install ระบบ (the cost building the system) ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน (operational cost) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

30 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประหยัดค่าใช้จ่าย การลดจำนวนพนักงานในการทำงานแบบ Manual ลดค่าใช้จ่ายในเรื่องสินค้าคงคลัง สามารถกระจายทรัพยากร ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

31 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เพิ่มรายได้ เพิ่มยอดขาย การทำงานเร็วขึ้น ลดพลังงาน ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

32 ผลประโยชน์ที่คิดเป็นตัวเงินไม่ได้
ประสิทธิภาพในการทำงาน คุณภาพในการบริการ ความพึงพอใจ ทั้ง ผู้รับและให้บริการ ช่วยในการตัดสินใจได้ง่าย และเร็วขึ้น ผลกระทบต่อการลงทุน ในทางที่ดีขึ้น ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

33 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กลุ่มผลประโยชน์ ประโยชน์จากการปฏิบัติงาน (performance benefits) ประโยชน์จากการลดค่าใช้จ่าย (cost-avoidance benefits) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

34 แผนภาพแกนต์ (Gantt Chart)
คือแผนภาพที่ช่วยควบคุมการทำงานเพื่อไม่ให้เกินเวลาที่วางแผนไว้ หากไม่สามารถควบคุมได้ตามแผนที่วางไว้ ความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้ เช่น ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น ความน่าเชื่อถือของนักวิเคราะห์ระบบ ความเสียหายกับโครงการต่อเนื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

35 Gantt Chart ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค 2.Design 5.Install &Documentation
ขั้นตอนการดำเนินงาน ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค 1.Analysis 2.Design 3.Coding 4.Test 5.Install &Documentation แผนที่ตั้ง ทำได้จริง

36 งาน มี.ค เม.ษ พ.ค มิ.ย ก.ค วิเคราะห์ระบบ รวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ระบบเดิม กำหนดความต้องการของระบบใหม่ นำเสนอรูปแบบระบบใหม่ ออกแบบระบบ ออกแบบ input output form ออกแบบ interface ออกแบบ database นำเสนอ ระบบที่ออกแบบ พัฒนาโปรแกรม โปรแกรม ทดสอบโปรแกรม จัดทำเอกสาร ตั้งระบบใหม่ ฝึกอบรม สรุปโครงการ

37 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผังงาน (Flow Chart) แบ่งการทำงานของ Flow chart ได้ออกเป็น 2 แบบ คือ ผังงานระบบ (System Flow Chart) ผังงานโปรแกรม (Program Flow Chart) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

38 ผังงานระบบ (System Flow Chart)
คือ เครื่องมือที่ใช้แสดงการไหลของระบบงานหรือเส้นทางการทำงานของระบบ ใช้อธิบายทิศทางการไหลของแต่ละกิจกรรมให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น โดยการแสดงด้วยสัญลักษณ์มาตรฐาน ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

39 ผังงานโปรแกรม (Program Flow Chart)
เป็นผังแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานในโปรแกรม มีส่วนแสดงการทำงานในขั้นการรับข้อมูล การคำนวณหรือการประมวลผล และการแสดงผลลัพธ์ เรียกอีกอย่างหนึ่งได้ว่า ผังการเขียนโปรแกรม หรือ ผังงาน ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

40 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประโยชน์ของผังงาน ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม และสามารถนำไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทำงานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

41 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Conclusion องค์กร (Organization) และระบบ (System) สิ่งแวดล้อมต่อองค์กร (Organizations Environment) ประเภทขององค์กร (Organization Type) การจัดตั้งโครงการและการบริหารโครงการ กระบวนการบริหารโครงการ การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และผลประโยชน์ที่จะได้รับ แผนภาพแกนต์ (Gantt Chart) ผังองค์กร (Organization Chart) ผังงานระบบ (System Flow Chart) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


ดาวน์โหลด ppt ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google