งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Health Strategic Management and Planning “การประเมินแผนกลยุทธ์”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Health Strategic Management and Planning “การประเมินแผนกลยุทธ์”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Health Strategic Management and Planning “การประเมินแผนกลยุทธ์”
Asst.Prof. Vorapoj Promasatayaprot B.P.H.(Public Health Administration), B.Sc.(Health Education), B.A.(Political Science), M.Sc.(Public Health), Mini MBA in Health Faculty of Public Health, Mahasarakham University, Thailand

2 การติดตาม ประเมินผล และการควบคุม
กำหนดว่าจะควบคุม ประเมินผลระดับอะไร ตั้งมาตรฐานหรือเป้าหมาย การวัดผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับมาตรฐาน เพื่อ - แก้ไข ปรับมาตรฐาน ปรับเป้าหมาย - ปรับกลยุทธ์ ปรับโครงสร้าง การสนับสนุน และปรับกิจกรรม

3 เทคนิคการวัดผลดำเนินงานขององค์กร (Primary Measures of Corporate Performance)
การวัดแบบดั้งเดิม (Traditional Financial Measures) การวัดแบบร่วมสมัยอื่น ๆ (Other Contemporary Performance Measures)

4 การวัดแบบดั้งเดิม (Traditional Financial Measures)
ที่นิยมกันมากคือการวัดผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Investment; ROI) เป็นการวัดความสามารถใน “การสร้างกำไร” จาก “ทรัพย์สิน” ของกิจการ นำไปสู่การจูงใจให้ใช้สินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ ROI มักมีผลกระทบจากวัฏจักรของธุรกิจ มากกว่าความสามารถของการบริหารงาน

5 การวัดแบบร่วมสมัยอื่น ๆ (Other Contemporary Performance Measures)
การวัดเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Measures) การวัดมูลค่าของผู้ถือหุ้น (Shareholder Value) การวัดด้วยวิธี Balanced Scorecard) การประเมินผลการดำเนินงานโดยใช้หมุดเทียบ (Benchmarking)

6 การวัดเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Measures)
ผู้มีส่วนได้เสีย ตัวชี้วัด ลูกค้า จำนวนลูกค้าใหม่ที่เพิ่มขึ้น Suppliers เวลาในการส่งมอบ พนักงาน Turnover Rate

7 การวัดมูลค่าของผู้ถือหุ้น (Shareholder Measures)
เพื่อดูว่าผู้ถือหุ้นได้มูลค่าเพิ่ม (Value Added) หรือมี “ความมั่งคั่ง” (Wealth) เพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากการบริหารยุทธศาสตร์ของฝ่ายจัดการอย่างไรบ้าง EVA หรือ “Economic Value Added” ซึ่งเป็นการวัดความแตกต่างของมูลค่าธุรกิจก่อน Implement ยุทธศาสตร์ และหลักจาก Implement ยุทธศาสตร์แล้ว ว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร MVA หรือ “Market Value Added” เป็นการวัดในแนวคิดเดียวกับ EVA หากแทนที่จะวัดความแตกต่างของ “มูลค่าธุรกิจ” ก็วัด “มูลค่าตลาดของหุ้นสามัญ” แทน

8 การประเมินผลการดำเนินงาน โดยใช้หมุดเทียบ (Benchmarking)
ระบุ จุด บริเวณ หรือ กระบวนการ กำหนดตัวชี้วัด เลือกหน่วยงานหรือองค์กรชั้นแนวหน้าที่จะใช้เป็น Benchmarking คำนวณความแตกต่างของตัววัด ระหว่างกิจการกับหมุดเทียบ พัฒนาโปรแกรมงาน เพื่อปิดช่องว่างดังกล่าว นำโปรแกรมงานไปปฏิบัติให้ได้ผล

9 ปัญหาและผลข้างเคียงในการวัด Performance
ปัญหาหลักๆ ของการวัดผลการดำเนินงานมีอยู่ 2 ประการ คือ การกำหนดวัตถุประสงค์ที่ไม่เป็นเชิงปริมาณ การไม่มีระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ที่น่าเชื่อถือและทันต่อเหตุการณ์

10 ปัญหาและผลข้างเคียงในการวัด Performance
ผลข้างเคียงที่อาจเป็นอันตรายต่อองค์กร โดยรวมมีอยู่ 2 เรื่อง คือ การเน้นระยะสั้นมากกว่าระยะยาว (Short-Term Orientation) ดังนั้น จึงไม่ได้ท่มเททรัพยากรลงในเรื่องของการ -พัฒนาสมรรถนะ (Competencies) -วิจัย และ พัฒนา (R & D) -การสร้างตราสินค้า (Brand Building) -บำรุงรักษา (Maintenance) เป้าหมายถูกบิดเบือน (Goal Displacement) -Behavior Substitution (กิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์) -Subotimization หรือ Local Optimization (มุ่งเฉพาะประโยชน์ส่วนตน)


ดาวน์โหลด ppt Health Strategic Management and Planning “การประเมินแผนกลยุทธ์”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google