งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
โดย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนศรีพฤฒา

2 ครูพรรณี ชุติวัฒนธาดา
การบันทึกประจำวัน กับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาต่างประเทศ รวบรวมโดย ครูพรรณี ชุติวัฒนธาดา

3 แนวคิดการวิจัย การสอนภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารจำเป็นต้องให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกฝนภาษาที่เรียนอย่างมีความหมายจริง ในสถานการณ์จริง และเป็นประจำ

4 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาพัฒนาการในการใช้ภาษาต่างประเทศของนักเรียนเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการใช้แบบบันทึกประจำวัน 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนจากการใช้แบบบันทึกประจำวัน

5 Treatment แนะนำ กำกับ ติดตาม และตรวจสอบ เพื่อให้เด็กสามารถ บันทึก X 1
เด็กขาดโอกาส การฝึกฝน การใช้ทักษะจริง อย่างบ่อยๆ เป็นประจำ แนะนำ กำกับ ติดตาม และตรวจสอบ เพื่อให้เด็กสามารถ บันทึก ประเมิน ความสามารถ ในการใช้ภาษา ใฝ่รู้ การคิดวิเคราะห์ วิสัยทัศน์ ต่างประเทศ X 1 2

6 ตัวแปร ตัวแปรอิสระ การบันทึกประจำวัน ตัวแปรตาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาต่างประเทศ

7 ประชากร ชั้น จำนวน (คน) ภาษาที่เรียน ม.6 113 ภาษาอังกฤษ/ ฝรั่งเศส ม.5
122 ม.4 111 ภาษาอังกฤษ/ ฝรั่งเศส /ญี่ปุ่น ม.3 114 ม.2 124 ม.1 166 รวม 750 3 ภาษา

8 นิยามศัพท์ ภาษาต่างประเทศ หมายถึง ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น
ภาษาต่างประเทศ หมายถึง ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น การบันทึกประจำวัน หมายถึง การบันทึก การฟัง-พูดอ่าน-เขียน ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละวัน ลงในรายงานที่ประกอบด้วย วัน-เวลา-สถานที่-หัวข้อ-ทักษะที่ใช้-ความเห็น

9 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. แบบสำรวจผลสัมฤทธิ์ทางภาษาก่อนและหลังการบันทึก ประจำวัน 2. ข้อสอบประจำภาคเรียนที่ 2/2547 3. แบบสำรวจความพึงพอใจในการใช้แบบของนักเรียน

10 วิธีรวบรวมข้อมูล ผู้สอนสำรวจผลการเรียนรู้ทางภาษาต่างประเทศของนักเรียนในภาคเรียนที่ผ่านมา แนะนำผู้เรียนให้มีการบันทึกติดต่อกัน วัน ผู้สอนสำรวจผลการบันทึกพร้อมแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนเมื่อสิ้นภาคเรียน สำรวจผลการสอบรายวิชาภาษาต่างประเทศ เปรียบเทียบผลก่อนและหลังการใช้แบบแบบบันทึก

11 การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ผลการเรียนรู้จากแบบสำรวจก่อนและหลังเรียน โดยใช้ค่าสถิติพื้นฐาน คือ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย 2. เปรียบเทียบค่าความแตกต่างของคะแนนก่อนและ หลังการใช้แบบบันทึก

12 สรุปผล การวิเคราะห์ผลสำรวจการบันทึกการใช้ภาษาต่างประเทศของกลุ่มประชากรจำนวน 750 คน พบว่า นักเรียนจำนวน 568 คน (ร้อยละ 75.73) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาต่างประเทศสูงขึ้น และนักเรียน 17 คน (ร้อยละ 2.26) มีผลเท่าเดิม ส่วนนักเรียนอีก 165 คน (ร้อยละ 22) ไม่ได้ส่งบันทึก 2. ผลคะแนนเฉลี่ย (จีพีเอ) ของนักเรียนในปีการศึกษา 2547 สูงขึ้น .22

13 3. นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับปานกลางถึงมากเป็นส่วนใหญ่

14 ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จำนวน 14 คน ทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ ของนักเรียนจำนวน 750 คน ดังแผนภูมิ

15 ผลที่เกิดกับผู้เรียน
ในจำนวนนักเรียนจำนวน 750 คนที่ใช้แบบบันทึกประจำวัน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาต่างประเทศ สูงขึ้นร้อยละ 75 เท่าเดิมร้อยละ 2 และไม่ปรากฏผลร้อยละ 22 ดังแผนภูมิ

16 ประโยชน์ / ข้อเสนอแนะ หากครูผู้สอนสามารถดูแลการบันทึกของกลุ่มประชากรได้ และนับการบันทึกเป็นกิจกรรมนอกเวลาในการเรียนรู้ภาษา การเขียนบันทึกภาษาต่างประเทศอาจจะช่วยส่งเสริมการใช้ ภาษาในสถานการณ์จริง อย่างมีความหมาย และถ้าผู้เรียนพึง พอใจที่จะบันทึกเองต่อไป ก็จะเป็นการเสริมสร้างคุณลักษณะ การคิดวิเคราะห์ของนักเรียนด้วย.

17 จบแล้วค่ะ


ดาวน์โหลด ppt งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google