ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
2
สาระสำคัญของการแก้ไข พรบ. กบข. ฉบับที่ 5
3
พรบ. กบข. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2550 พรบ. กบข. ฉบับที่ 5 พ.ศ มีผลบังคับใช้ 10 มกราคม สาระสำคัญ - โครงการออมเพิ่ม - โครงการทยอยขอรับเงินคืน - การเลือกแผนการลงทุนของตนเอง
4
สาระสำคัญโครงการออมเพิ่ม
1. เป็นสมาชิก กบข. ประเภทส่งเงิน “สะสม” เท่านั้น 2. เพิ่มจากเงินสะสมเดิม ตั้งแต่ 1% – 12% 3. คำนวณเงินสะสมส่วนเพิ่ม แยกจากเงินสะสมปกติ (3%) 4. เงินสมทบและเงินชดเชย ในส่วนรัฐบาลคงเดิม คือ เงินสมทบ 3% เงินชดเชย 2%
5
สาระสำคัญโครงการออมเพิ่ม
5. แจ้งความประสงค์ที่ต้นสังกัด โดยใช้แบบฟอร์ม “แบบแจ้งความประสงค์ในการส่งเงินสะสมส่วนเพิ่ม” 6. เริ่มยื่นเรื่องได้ตั้งแต่ 7. เปลี่ยนแปลงอัตราเงินสะสมส่วนเพิ่ม หรือยกเลิกเงินสะสมส่วนเพิ่ม ทุกเดือน มีผลใช้ เดือนมกราคม ธันวาคม ของปีถัดไป เดือนมีนาคม เป็นต้นไป หักเงินสะสม ส่วนเพิ่มเดือนถัดไป
6
สาระสำคัญโครงการออมเพิ่ม
8. หน่วยงานต้นสังกัดเป็นผู้เก็บ “แบบแจ้งความประสงค์ ในการส่งเงินสะสมส่วนเพิ่ม” ไว้เป็นหลักฐาน หน่วยงาน ต้นสังกัด เงินสะสม ส่วนเพิ่ม นำส่งเงิน กบข. ทำหน้าที่หักเงินสะสมส่วนเพิ่มจากสมาชิก ได้รับเมื่อ พ้น สมาชิกภาพ
7
ขั้นตอนการส่งเงินสะสมส่วนเพิ่ม
1. สมาชิกแบบสะสม ยืนยันเอกสาร หน่วยงานต้นสังกัด เก็บเป็นหลักฐาน ไม่ต้องนำส่งกองทุน หน่วยงานต้นสังกัดหักเงินนำส่งส่วนเพิ่มของสมาชิก และนำส่งเงินให้ กบข. ในเดือนต่อไป กบข. นำไปลงทุนหาผลประโยชน์ เงินสะสมส่วนเพิ่ม ผลประโยชน์ บัญชีสมาชิก แจ้งผล ผ่านใบแจ้งยอด 2. 3. 4. ติดต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อกรอกแบบฟอร์ม 5. ส่วนของเงินสะสมส่วนเพิ่มที่จ่ายเข้ากองทุนจะได้รับลดหย่อนภาษีตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
8
สาระสำคัญโครงการทยอยขอรับเงินคืน แนวทางการปฏิบัติ
1. 2. 3. 4. 5. ขอรับเงิน ที่มีสิทธิได้ รับทั้งจำนวน ขอโอนเงินที่มี สิทธิได้รับไปยัง กองทุนสำรอง เลี้ยงชีพหรือ กองทุนอื่นที่มี วัตถุประสงค์ เพื่อการออกจาก งานหรือการ ชราภาพ ขอฝากเงินที่มี สิทธิได้รับให้ กองทุน บริหารต่อ ขอทยอยรับเงิน ที่มีสิทธิได้รับ ขอรับเงินที่มี สิทธิได้รับบางส่วน ส่วนที่เหลือ ขอทยอยรับ
9
สาระสำคัญโครงการทยอยขอรับเงินคืน การเข้าร่วมโครงการ
สมาชิกที่มีความประสงค์ตามข้อ 3-5 จะต้องแนบเอกสาร “แบบแจ้งความประสงค์ให้ กองทุนบริหารต่อหรือขอทยอยรับเงิน” มาพร้อม กับแบบ กบข. รง 008/1/...... สามารถแจ้งเปลี่ยนแปลงจำนวนเงิน หรือความถี่ ในการขอรับเงินคืน ได้ปีละ 1 ครั้ง ตามปีปฏิทิน โดยใช้ “แบบแจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูลผู้แจ้งความประสงค์ให้ กองทุนบริหารต่อหรือขอทยอยรับเงิน”
10
สาระสำคัญโครงการทยอยขอรับเงินคืน
การเข้าร่วมโครงการ การใช้สิทธิตามข้อ 3 “ขอฝากเงินที่มีสิทธิได้รับ ให้กองทุนบริหารต่อ” การใช้สิทธิตามข้อ 4 “ขอทยอยรับเงินที่มีสิทธิได้รับ” ต้องมียอดเงินในบัญชี ไม่ต่ำกว่า 35,000 บาท ณ วันที่ยื่นคำขอ การใช้สิทธิตามข้อ 5 “ขอรับเงินที่มีสิทธิได้รับบางส่วน ส่วนที่เหลือขอทยอยรับ” ต้องมียอดเงินส่วนที่เหลือ ขอทยอยรับในบัญชีไม่ต่ำกว่า 35,000 บาท ณ วันที่ยื่นคำขอ
11
เปิดให้บริการทางเลือกของสมาชิกที่พ้นสมาชิกภาพในเดือนสิงหาคม 2551
สาระสำคัญโครงการทยอยขอรับเงินคืน การเข้าร่วมโครงการ การขอทยอยรับ ต้องรับเป็นรายงวดๆ ละเท่าๆ กัน โดยอาจเลือกรับเป็นราย 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี ก็ได้ แต่ต้องมีจำนวนเงินขั้นต่ำรายงวด ไม่ต่ำกว่างวดละ 3,000 บาท กบข. จะโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารเพียงวิธีเดียวเท่านั้น และหักค่าธรรมเนียมธนาคารที่เกิดขึ้นจริงจากยอดที่ สมาชิกรับรายงวด เปิดให้บริการทางเลือกของสมาชิกที่พ้นสมาชิกภาพในเดือนสิงหาคม 2551
12
โครงการเลือกแผนการลงทุนของตนเอง
เงื่อนไข สมาชิกสามารถเลือกแผนการลงทุนในส่วนของ เงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว ข้อดี สมาชิกสามารถเลือกรูปแบบการลงทุน ที่ตรงกับความต้องการของตนเอง และได้รับผลตอบแทนตามที่ตนเลือก
13
พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
“...คำว่าพอเพียง มีความหมายอีกอย่างหนึ่ง มีความหมายกว้างออกไปอีก. ไม่ได้หมายถึง การมีพอสำหรับใช้เท่านั้น แต่มีความหมายว่า พอมีพอกิน. ...ถ้าแต่ละคนพอมีพอกิน ก็ใช้ได้. ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่คณะบุคคคลต่างๆ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต วันศุกร์ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.