ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม
การสำรวจสถานการณ์การปนเปื้อน ของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก ณ แหล่งจำหน่ายขายส่งทั่วประเทศ นครินทร์ ภระมรทัต กองควบคุมอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
2
ความเป็นมา ที่มา : ข้อมูลจากโครงการหน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร
3
ความเป็นมา กราฟแสดงแนวโน้มการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในอาหาร ระหว่างปีงบประมาณ ที่มา : ข้อมูลจากโครงการหน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร
4
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทราบถึงสถานการณ์ความปลอดภัยของผักที่จำหน่ายภายในประเทศ 2. ใช้เป็นข้อมูลในการวางกลยุทธ์เพื่อลดอันตรายและแก้ไขปัญหาให้ครบทั้งวงจร ตั้งแต่ผู้ผลิตถึงผู้บริโภค
5
ขอบเขตการวิจัย พื้นที่ : ครอบคลุมแหล่งจำหน่ายขายส่งจากทั่วประเทศ
ผู้ปฏิบัติงาน : เจ้าหน้าที่หน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่ส่วนกลาง (อย.) และส่วนภูมิภาค 12 กลุ่ม ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ทั่วประเทศ การตรวจวิเคราะห์ : ชุดทดสอบเบื้องต้น GT ที่ตรวจระดับความเป็นพิษของสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในผัก (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์)
6
เกณฑ์การสุ่มและชนิดของตัวอย่างผัก
1. มะเขือเปราะ 2. ผักคะน้า 3. พริกสด 4. แตงกวา 5. ผักกวางตุ้ง สุ่มเก็บตัวอย่างผัก 10 ชนิดที่มีการบริโภคสูงสุด (กรมส่งเสริมการเกษตร,2547) สุ่มเก็บตัวอย่างผักอย่างน้อย ชนิดละ 50 ตัวอย่าง/กลุ่ม รวม 500 ตัวอย่าง/กลุ่ม 6. ผักกาดขาว 7. ถั่วฝักยาว 8. ผักบุ้งจีน 9. ดอกกะหล่ำ 10. กะหล่ำปลี
7
ขั้นตอนการวิจัย วางแผนงาน (Plan) ปรับปรุง (Action) ปฏิบัติงาน (DO)
เสนอสรุปสถานการณ์ แก่ผู้บริหาร ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล จัดทำแผนการวิจัย สรุปสถานการณ์ทั่วประเทศ ปฏิบัติงาน (DO) ตรวจสอบ (Check) วิเคราะห์ข้อมูลทั่วประเทศ ทดสอบวิจัยตามแผน คัดเลือกพื้นที่ ตรวจวิเคราะห์ รวบรวม/ตรวจสอบข้อมูลทั่วประเทศ เก็บตัวอย่าง ลงผลข้อมูล
8
ขั้นตอนการวิจัย (ต่อ)
ปฏิบัติงาน (DO) ทดสอบวิจัยตามแผน คัดเลือกพื้นที่ เก็บตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ ลงผลข้อมูล หลักการของโคลีนเอสเตอเรส อินฮิบิชั่นเทคนิค ตรวจระดับความเป็นพิษของสารตกค้าง กลุ่มสารประกอบฟอสเฟต และ/หรือสารคาร์บาเมท โดยจะยอมให้มีปริมาณสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในผัก ไม่เกินค่าที่มีผลทำให้เอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส มีประสิทธิภาพการทำงานลดลงตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป
9
เก็บตัวอย่างผัก 10 ชนิด ณ แหล่งจำหน่ายขายส่งทั่วประเทศ
10
กราฟแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ)
ผลการวิจัย กราฟแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ) ตัวอย่างทั้งหมด 8,974 ตัวอย่าง ปนเปื้อนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 850 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 9.47
11
อันดับที่ 1 มะเขือเปราะ
สรุปผลการวิจัย อันดับที่ 1 มะเขือเปราะ ร้อยละ 14.30(113/790) อันดับที่ 2 พริกสด ร้อยละ (166/1,179) อันดับที่ 3 ผักคะน้า ร้อยละ (138/1,042) จากทัศนคติของผู้บริโภคที่นิยมบริโภคผักที่ไม่มีร่องรอยของแมลงกิน อาหารตาและอาหารปาก
12
ข้อเสนอแนะ 1.เฝ้าระวังความปลอดภัยผักทั้งประเทศ
2.พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และจิตสำนึกที่ถูกต้องในการผลิต/บริโภค ให้กับผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และผู้บริโภค 3.ส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยจากสารพิษ 4.สร้างเครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน 5.กำหนดมาตรการจัดการด้านกฎหมายอย่างจริงจัง 6.เชื่อมโยงเครือข่ายฐานข้อมูลเพื่อการกำกับ ดูแลผักปลอดภัย
13
คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม
ขอบคุณครับ
14
ตารางแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ)
สรุปผลการวิจัย ตารางแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ) ลำดับที่ ประเภทตัวอย่าง จำนวนทั้งหมด ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ร้อยละ 1 มะเขือเปราะ 790 113 14.30 2 พริกสด 1,179 166 14.08 3 ผักคะน้า 1,042 138 13.24 4 ถั่วฝักยาว 763 76 9.96 5 ผักกวางตุ้ง 792 77 9.72 6 แตงกวา 838 69 8.23 7 ดอกกะหล่ำ 681 49 7.20 8 กะหล่ำปลี 1,045 6.60 9 ผักกาดขาว 1,164 5.93 10 ผักบุ้งจีน 680 24 3.53 รวม 8,974 850 9.47
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.