ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การค้ามนุษย์
2
การ ค้ามนุษย์ หมายถึง การจัดหา การขนส่ง การส่งต่อ การจัดให้อยู่อาศัย หรือการรับไว้ซึ่งบุคคลด้วยวิธีการขู่เข็ญ หรือด้วยการใช้กำลัง หรือด้วยการบีบบังคับในรูปแบบอื่นใด ด้วยการลักพาตัว ด้วยการฉ้อโกง ด้วยการหลอกลวง ด้วยการใช้อำนาจโดยมิชอบ หรือด้วยการใช้สถานะความเสี่ยงภัยจากการค้ามนุษย์โดยมิชอบ หรือมีการให้ หรือรับเงินหรือผลประโยชน์ เพื่อให้ได้มาซึ่งความยินยอมของบุคคลผู้มีอำนาจควบคุมบุคคลอื่น...
3
ศูนย์ปฏิบัติการการค้ามนุษย์
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการด้านการค้ามนุษย์ 3 ระดับ คือ ระดับชาติ ระดับจังหวัด และต่างประเทศ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดกลไกลประสานงานกลางด้านการค้ามนุษย์ บูรณาการข้อมูล บริการและความช่วยเหลือจากส่วนราชการทุกกระทรวง รวมทั้งเกิดระบบสนับสนุนข้อมูล เพื่อการตัดสินใจสำหรับผู้บริหารในระดับนโยบายในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ตามโครงสร้างดังนี้
4
ศูนย์ปฏิบัติการการค้ามนุษย์ ( ต่อ )
ระดับชาติ กำหนด ให้กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์เป็นหน่วยงานกลางประสานการป้องกัน และปราบปรามการค้ามนุษย์ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5
ศูนย์ปฏิบัติการการค้ามนุษย์ ( ต่อ )
ระดับจังหวัด กำหนด ให้แต่งตั้งคณะกรรมการจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน และพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเป็นเลขานุการ รวมทั้งสนับสนุนให้หน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมป้องกัน และปราบปรามการค้ามนุษย์
6
ศูนย์ปฏิบัติการการค้ามนุษย์ ( ต่อ )
ต่างประเทศ กำหนด ให้แต่งตั้งคณะกรรมการประจำประเทศต่าง ๆ โดยมีเอกอัครราชทูต /กงสุลใหญ่เป็นประธาน และมีผู้แทนประกอบด้วย กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์ ทูตแรงงาน ผู้แทนด้านความมั่นคง ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง องค์กรเอกชน และชุมชนไทย ทำหน้าที่ประสานการให้ข้อมูล และความช่วยเหลือเหยื่อการค้ามนุษย์
7
การดําเนินคดี รัฐบาลไทยยังดําเนินความพยายามตอไปในการปราบปรามการ คามนุษย ในเดือนมิถุนายน พ.ศ พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษยฉบับใหมซึ่งมีความครบถวนสมบูรณมี ผลบังคับใช พ.ร.บ. ฉบับใหมนี้ครอบคลุมการคามนุษยทุกรูปแบบ และระบุโทษที่หนักเพียงพอ
8
การคุมครอง รัฐบาลไทยยังคงใหการคุมครองอยางดีตอชาวตางชาติและชาวไทยที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษยในไทย และเหยื่อชาวไทยที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษยในตางประเทศ รัฐบาลเพิ่มจํานวนสถาน พักพิงชั่วคราวสําหรับเหยื่อคามนุษยจาก 99 แหงเปน 138 แหง โดยแตละจังหวัดจะมีสถานพักพิง ชั่วคราว 1 แหงเปนอยางนอย
9
การคุมครอง ( ต่อ ) รัฐบาลจะสงเหยื่อคามนุษยไปพักอาศัยในสถานพักพิงระยะยาวที่มีอยู 8 แหงกระจายอยูในแตละภูมิภาคซึ่งอยูในสังกั ดของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย โดยผูตกเปนเหยื่อคามนุษยจะไดรับคําปรึกษาดานจิตวิทยา อาหาร ที่พัก และบริการดานสุขภาพ พ.ร.บ. ปองกันและปราบปรามการคามนุษยฉบับใหมขยายความ คุมครองถึงเหยื่อคามนุษยที่เปนชาย และหนึ่ง ในสถานพักพิงระยะยาวของรัฐบาลก็ไดจัดไวใหสําหรับผูตกเปนเหยื่อคามนุษยที่เปนผูใหญเพศชายและ ครอบครัว ในป พ.ศ สถานพั กพิงของรัฐบาลใหความคุมครองและบริการสังคมสงเคราะหแกเหยื่อ คามนุษยชาวไทยที่ถูก สงตัวกลับประเทศ
10
การปองกัน ในชวงปที่ทํารายงาน รัฐบาลไทยยังคงใหการสนับสนุนกิจกรรม ดานการปองกันและการเพิ่ม จิตสํานึกของประชาชนเกี่ยวกับการคามนุษย รวมทั้งการจัดเสวนาเกี่ยวกับการคามนุษยและการโฆษณา ทางโทรทัศน ผูสังเกตการณรายงานวามีการบังคับใชแรงงานจํานวนมากในกลุมแรงงานตางดาวซึ่งเขา รวมในโครงการทํางานชั่วคราวของไทย และระบุวาคนเหลานี้ไมสามารถขอความชวยเหลือจากรัฐบาล ไดเนื่องจากกลัววาจะถูกลงโทษหรือสงตัวกลับประเทศ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.